บทที่ 2
พลวัตทางวัฒนธรรมของ
ความหลากหลายทางชาติพันธุ์
สมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข
2.1 บทน�ำ
นั
บตั้
งแต่
องค์
การสหประชาชาติ
ได้
ก�
ำหนดทศวรรษเพื่
อการพั
ฒนาวั
ฒนธรรม
ในระหว่
างปี
2531 - 2540 เป็
นปี
แห่
งการเรียนรู้
เรื่องมิติวัฒนธรรมกับการพัฒนา
ประกอบกับการแปลหนั
งสือ เรื่อง วัฒนธรรมอันหลากสีของมนุษยชาติ (นุ
ชนาฎ
เนตรประเสริ
ฐศรี
พิ
ศวาส ปทุ
มุ
ต์ตรั
งษี
, ม.ป.ป) ได้กล่าวถึ
งความหลากหลายทาง
ชาติ
พั
นธุ์เกิ
ดขึ้
น ย่อมจะเห็
นความส�
ำคั
ญของความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์ในยุ
ค
ปั
จจุ
บั
น สาเหตุ
ที่
ส�
ำคั
ญก็
คื
อ การพั
ฒนาประเทศที่
เกิ
ดขึ้
นในทุ
กๆ แห่
งของโลก ต่
าง
ได้กล่าวถึ
งความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์มี
ความสั
มพั
นธ์การพั
ฒนาประเทศ ทั้
งนี้
เนื่
องจากหลายๆ ประเทศได้
ละเลยความส�
ำคั
ญของประเทศที่
ประกอบขึ้
นด้
วยความ
หลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์
ท�
ำให้
เกิ
ดปัญหาเกี่
ยวกั
บความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์
ทั้
งในด้
านการพั
ฒนาเศรษฐกิ
จการเมื
องสั
งคมและวั
ฒนธรรม ดั
งนั้
นการเข้
าใจความ
หลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
จึ
งมี
ประโยชน์
เพื่
อหาแนวทางการพั
ฒนาประเทศในมิ
ติ
ของ
ความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมเสี
ยไป
วิ
ถี
ชี
วิ
ตของประชาชนในชุ
มชนต่างๆ ในประเทศไทย ย่อมจะมี
ประวั
ติ
ความ
เป็นมาที่แตกต่างกัน ทั้งนี้เนื่องจากประวัติศาสตร์ของชาติไทยในแต่ละภาคแต่ละ
ท้องถิ่
นมี
ประวั
ติ
ความเป็นมาที่
หลากหลาย กล่าวคื
อ ในอดี
ตรั
ฐชาติ
ประกอบด้วย