Previous Page  31 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 31 / 318 Next Page
Page Background

30

โสวัฒนธรรม

การรวมตั

วกั

นของอ�

ำนาจรั

ฐที่

สามารถครอบคลุ

มเมื

องต่

างๆ โดยแต่

ละเมื

องยั

งมี

เจ้

าเมื

องหรื

อผู้

ปกครองปกครองตนเอง แต่

เมื

องเหล่

านั้

นจะต้

องขึ้

นกั

บนครหลวง

การปกครองเช่

นนี้

สามารถกล่

าวได้

ว่

ามี

ความหลากหลายในแต่

ละภูมิ

ภาคและ

ท้

องถิ่

น ตั

วอย่

างเช่

น วิ

ถี

ชี

วิ

ตของประชาชนในภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อในอดี

ตก่

อน

ที่

อาณาจั

กรล้

านช้

างจะมี

อ�

ำนาจ ในบริ

เวณภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อนี้

มี

หลั

กฐานที่

มี

คนอยู่อาศั

ยก่อนประวั

ติ

ศาสตร์ คื

อ วั

ฒนธรรมเจนละ วั

ฒนธรรมทวาราวดี

และ

วั

ฒนธรรมของเขมรพระนครได้

มี

อิ

ทธิ

พลต่

อวิ

ถี

ชี

วิ

ตความเป็

นอยู่

ไม่

น้

อย และอิ

ทธิ

พล

ของอาณาจั

กรล้

านช้

างที่มี

อิ

ทธิพลต่

อภาคตะวันออกเฉี

ยงเหนื

อตอนบน (หอศิลป

วั

ฒนธรรมมหาวิทยาลั

ย ขอนแก่น 2544:) ส�

ำหรั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ตของประชาชนในภาคอื่

ก็

เช่

นเดี

ยวกั

น กล่

าวคื

อ แต่

ละภาคประกอบขึ้

นด้

วยกลุ่

มชนที่

อยู่

ในท้

องถิ่

นเดิ

ม และ

กลุ่มชนที่

มาจากสถานที่

อื่

นๆ ซึ่

งท�

ำให้เห็

นว่าวิ

ถี

ชี

วิ

ตของประชาชนในแต่ละท้องถิ่

แต่ละภาคย่อมมีความหลากหลายทางวั

ฒนธรรมไม่มากก็

น้อย

เมื่

อพิ

จารณาจากมิ

ติ

ทางประวั

ติ

ศาสตร์

ทางชาติ

พั

นธุ

ย่

อมจะเห็

นได้

ว่

ประเทศไทยเป็

นประเทศพหุ

ลั

กษณ์

ซึ่

งประกอบด้

วยกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ต่

างๆ ส�

ำหรั

ภาคอีสานเป็นภาคที่ประกอบด้วยกลุ่มประชากรที่มีเชื้อสายกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว/

ไทยลาว เป็

นส่

วนมาก แต่

อย่

างไรก็ตาม ถ้

าแบ่

งกลุ่

มชาติพันธุ์ตามตระกูลภาษา

2 กลุ่

ม ก็

คื

อ กลุ่

มออสโตรเอเซี

ยติ

ค (Austro-Asiatic) ซึ่

งได้

แก่

เขมรถิ่

นไทย/ไทยเขมร

กูย/กวย/ไทยกวย กลุ่มชาติพันธุ์โซ่ กะโส้/โส้/ไทยโส้ เญอ/ไทยเญอ/ไทยเยอ และ

ญั

ฮกูร หรื

อชาวบน และกลุ

มไต-กะได ซึ่

งได้

แก่

ไทโคราช/ไทยโคราช ไทลาว/ไทยลาว

ไทโย้ย/ไทยโย้ย ไทญ้อ/ไทย้อ/ไทยญ้อ กะเลิง/ไทยกะเลิง ไทพวน/ไทยพวน ผู้ไทย

และไทแสก/ไทยแสก นอกจากนี้

ยั

งมี

กลุ่มชาติ

พั

นธุ์จี

น ญวน และอิ

นเดี

ยที่

ได้อาศั

ในเมื

อง หรื

อแต่งงานกั

บคนในท้องถิ่

นชนบท

การที่ประเทศไทยมีแผนการพัฒนาประเทศมาได้หลายฉบับ โดยแผนการ

พั

ฒนาประเทศส่

วนใหญ่

มี

แผนงานและโครงการต่

างๆ ในลั

กษณะเป็

นนโยบาย

เบื้องบนลงสู่เบื้องล่าง (top-down policy) ท�

ำให้แผนงานและโครงการต่างๆ ไม่ได้

สนองกั

บความต้

องการของประชาชนในวิ

ถี

ชี

วิ

ตที่

มี

ความหลากหลายทางวั

ฒนธรรม