งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
219
มี “ศูนย์วัฒนธรรม” มากขึ้น โดยจะไม่อยู่แต่เพียงในเมืองหรือในสถานที่ราชการ
แต่อยู่ในหมู่บ้าน ในที่
ของชาวบ้านจะมี
“ของ” มากขึ้
น และชาวบ้านไปแวะเวี
ยน
เยี่
ยมชมมากขึ้
นเพราะเขามี
ส่วนร่วมในการสร้างมั
นขึ้
นมา เขาเป็น “เจ้าของ” ด้วย
เช่
นกั
น หั
ตถกรรมพื้
นบ้
านจะเฟื
่
องฟู ให้
ทั้
งรายได้
และความภูมิ
ใจกั
บชาวบ้
านที่
กลาย
เป็นผู้ด�
ำเนิ
นการและเจ้าของเอง
4.7 ผลกระทบจากการใช้วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการพัฒนา
หัวใจของการพัฒนาประเทศนั้
นผู้บริหารจะถือเอาความสุขของมนุษย์
เป็น
เป้
าหมายสูงสุ
ด เกณฑ์
ในการวิ
นิ
จฉั
ยความส�
ำเร็
จของการพั
ฒนา คื
อ สภาวะที่
มนุ
ษย์
สามารถด�
ำรงชี
วิ
ตอยู่
ได้
อย่
างมี
ความสุ
ขบนพื้
นฐานของความมี
ศั
กดิ์
ศรี
แห่
งตน เพราะ
หลั
กคิ
ดส�
ำคั
ญของวั
ฒนธรรมชุ
มชนของไทยในอดี
ตถื
อว่
าไม่
มี
สิ่
งใดมี
ค่
าและมี
ความ
ส�
ำคั
ญเท่
ากั
บชี
วิ
ตมนุ
ษย์
ดั
งนั้
นจะเห็
นว่
าศิ
ลปะวั
ฒนธรรม ขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
ใดๆ ของไทย ล้วนเกี่
ยวข้องกั
บชี
วิ
ตคนและความสุ
ขของคนทั้
งสิ้
น
การพั
ฒนาใดๆ ที่
เริ่
มต้
นจากทุ
นทางวั
ฒนธรรมที่
ชุ
มชนมี
อยู่
แล้
ว เปรี
ยบ
เสมื
อนการปลูกต้
นไม้
ที่
มี
รากแก้
วหยั่
งลึ
กลงไปในเนื้
อดิ
น อั
นมี
ผลท�
ำให้
ล�
ำต้
นทรงตั
ว
ได้
อย่
างมั่
นคง แม้
จะเผชิ
ญพายุ
ลมแรงสั
กเพี
ยงใด แต่
การพั
ฒนาประเทศไทยใน
ปัจจุบัน มุ่งเน้นพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมท�
ำให้วัฒนธรรมยังถูกมองเป็นเพียง
เงื่
อนไขหรื
อปั
จจั
ยหนึ่
งของการผลิ
ตเท่
านั้
น แนวคิ
ดการพั
ฒนาโดยใช้
กระบวนการทาง
วิ
ทยาศาสตร์
เป็
นแนวคิ
ดหลั
กที่
ผู้
มี
อ�
ำนาจหรื
อผู้
บริ
หารประเทศใช้
เป็
นบรรทั
ดฐานใน
การพั
ฒนาจึ
งส่
งผลให้
วิ
ทยาศาสตร์
เข้
ามาครอบง�
ำวั
ฒนธรรมพื้
นบ้
าน ท�
ำให้
ผลของ
การพัฒนาส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ของชนบทอย่างรุนแรง
เช่
น ป่
าถูกท�ำลายจนถึงจุ
ดวิ
กฤติ
เพื่อให้
พื้นที่
แก่
การเกษตรกรรมราคาถูก ต้
องใช้
สารเคมี
เข้
ามาใช้
ในการเกษตรเป็
นจ�ำนวนมากและก่
อให้
เกิ
ดอั
นตรายต่
อสิ่
งแวดล้
อม
และมนุ
ษย์ เป็นการเพิ่
มรายจ่ายให้แก่เกษตรกร เกษตรกรต้องท�
ำงานหนั
กขึ้
น แต่
ขาดทุ
นเป็นหนี้
เป็นสิ
น ก่อให้เกิ
ดภาวะเครี
ยดและปัญหาต่างๆ ตามมา