งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
187
ดังนั้
นการศึกษาของไทยในยุคปัจจุบันจึงมีสภาพเหมือนม่านบังตาเยาวชน
เพราะการศึ
กษาได้
ปิ
ดกั้
นเยาวชนไม่
ให้
เห็
นสภาพแวดล้
อมทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม
ที่
ตนเองมี
อยู่ เหยี
ยดหยามทรั
พยากรในท้องถิ่
น เยาวชนมี
ความรู้สึ
กว่าตนเองและ
วั
ฒนธรรมของตนต�่ำต้
อยน่
าละอาย ปั
จจั
ยเหล่
านี้
ได้
ท�
ำลายความมั่นในในตั
วเอง
ของเยาวชนลงอย่างสิ้
นเชิ
ง
การศึ
กษาสมั
ยใหม่
สร้
างให้
เยาวชนมี
ความภาคภูมิ
ใจในวั
ฒนธรรม
ต่
างชาติ
ทั้
งด้
านการแต่
งกาย การด�
ำเนินชี
วิ
ต และการกิ
นอาหารแบบตะวั
นตก
ดูโก้
เก๋
มี
รสนิ
ยมสูง จึ
งส่
งผลให้
คนในชนบทต้
องรั
บเอาค่
านิ
ยมเหล่
านี้
ไปปฏิ
บั
ติ
เพราะเป็นหนทางเดียวที่จะท�
ำให้เขาได้รับการยอมรับจากคนในสังคมเมืองว่าเป็น
ผู้พั
ฒนาแล้ว
เป็
นที่
ทราบกั
นดี
ว่
าการพั
ฒนาใดๆ ที่
ขาดพื้
นฐานแห่
งความเข้
าใจวั
ฒนธรรม
ของท้
องถิ่
น การพั
ฒนานั้
นจะด�
ำรงอยู่
ได้
ไม่
นาน แต่
ถ้
าหากน�
ำเอาวั
ฒนธรรมมา
เป็
นเครื่
องมื
อในการพั
ฒนาแล้
ว การพั
ฒนานั้
นจะมี
ความมั่
นคง ยั่
งยื
นและยาวนาน
ตัวอย่างของความล้มเหลวในการพัฒนาที่ขาดความเข้าใจในมิติทางวัฒนธรรมจะ
เห็นได้จากการพัฒนาของไทยนับตั้งแต่มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สั
งคมแห่
งชาติ
ฉบั
บที่
1 เมื่
อ พ.ศ.2504 เรื่
อยมาจนถึ
งปั
จจุ
บั
น รั
ฐบาลได้
ใช้
เวลานาน
กว่า 5 ทศวรรษแล้วแต่การพั
ฒนาชนบท โดยเฉพาะภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ จะ
เห็
นว่าแม้รั
ฐบาลจะทุ่มงบประมาณพั
ฒนาเป็นจ�
ำนวนมหาศาลแล้วก็
ตาม แต่ภาพ
โดยรวมชองชาวชนบทภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อก็
ยั
งประสบวิ
กฤตความยากจนอยู่
เช่
นเดิ
ม และช่
องว่
างของความเหลื่
อมล�้
ำในการกระจายรายได้
ทางเศรษฐกิ
จและการ
บริ
การสวั
สดิ
การขั้
นพื้
นฐานนั
บวั
นแต่
จะห่
างกั
นมากขึ้
น ในขณะเดี
ยวกั
นสภาพนิ
เวศ
และสิ่งแวดล้
อมของอีสานกลับแย่ลงทั้งป่าไม้
คุณภาพของน�้
ำและความแห้
งแล้ง
ก่
อเกิ
ดปั
ญหาในทุ
กท้
องถิ่
น ส่
งผลให้
ชาวอี
สานต้
องหนี
ตายหลั่
งไหลเข้
าไปหางานท�
ำ
ในเมื
องใหญ่
ๆ และกรุ
งเทพฯ เป็
นจ�
ำนวนมาก ทิ้
งให้
เด็
กและคนชราต้
องเผชิ
ญ
ชะตากรรมกั
นตามล�
ำพั
งโดยไม่มี
ใครช่วยขจั
ดปัดเป่าปัญหาเหล่านั้
นให้ลดลงได้