Previous Page  16 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 16 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

15

พัฒนา และวิถีชีวิตวัฒนธรรมทางศิลปะ ซึ่งเป็นพลังความคิดของภูมิปัญญาที่ได้

พั

ฒนาจนเป็นความรู้เพื่

อตอบสนองความจ�ำเป็นของพื้

นฐานทางสั

งคม และความ

ต้

องการทางสั

งคมในแต่

ละกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

จนสามารถเป็

นวิ

ถี

แห่

งการด�

ำรงชี

วิ

ต และ

แก้ไขปัญหาต่างๆ ภายในชุ

มชน ท�ำให้ชุ

มชนชาติ

พั

นธุ์มี

ความเข้มแข็

งและสามารถ

ด�

ำรงอยู่ในกระแสการพั

ฒนาประเทศอย่างมั่

นคง สิ่

งส�

ำคั

ญ ก็

คื

อการประเมิ

นและ

วิ

เคราะห์

สถานภาพองค์

ความรู้

ความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ

ทั้

งสี่

แนวความคิ

เหล่

านั้

น ท�ำให้เห็นความหลากหลายในการจัดการปั

ญหาของการด�

ำรงชีวิต ของ

แต่

ละกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ซึ่

งเป็

นการสนองความจ�

ำเป็

นพื้

นฐานทางสั

งคม และเพื่

อความ

อยู่รอดทางสั

งคมนั่

นเอง

ส่

วนการสั

งเคราะห์

สถานภาพองค์

ความรู้

ความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ

ผู้

เขี

ยนได้

สรุ

ปไว้

เป็

น 4 ลั

กษณะ คื

อ 1.การศึ

กษาวิ

ถี

ชี

วิ

ตวั

ฒนธรรม 2.การศึ

กษาการ

เปลี่

ยนแปลงทางสั

งคมและวั

ฒนธรรม 3.การศึ

กษากระบวนการปรั

บตั

ว และ 4.การ

ศึ

กษากระบวนการสร้

างความเป็

นอั

ตลั

กษณ์

ทางชาติ

พั

นธุ

ส�

ำหรั

บกรอบแนวความคิ

ในการวิ

จั

ยความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ

ดั

งกล่

าว ส่

วนมากเป็

นการศึ

กษาและ

วิ

เคราะห์

ตามแนวทางของทฤษฎี

โครงสร้

างและหน้

าที่

ซึ่

งเป็

นประโยชน์

อย่

างยิ่

ต่อความเข้าใจความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์ในแต่ละกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ที่

แตกต่างกั

ด้วย ในระยะหลั

งได้มี

นั

กวิ

จั

ยได้ใช้กรอบแนวความคิ

ดหลั

งทั

นสมั

ยของ มิ

เชล ฟรูโก

(Michel Foucault) แต่ยั

งมี

ผลงานวิ

จั

ยค่อยข้างน้อย

2. บทความวิจัยเรื่องพลังความคิดและภูมิปัญญา

บทความวิ

จั

ยองค์

ความรู้

ด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญานี้

ผู้

เขี

ยน คื

สมศั

กดิ์

ศรี

สั

นติ

สุ

ข ได้

พบว่

ามี

ผลงานมากมาย ซึ่

งเป็

นบทความทางวิ

ชาการและงาน

วิ

จั

ยของอาจารย์

นั

กวิ

ชาการ และวิ

ทยานิ

พนธ์

ของนั

กศึ

กษาระดั

บบั

ณฑิ

ตศึ

กษา โดย

องค์

ความรู้

ดั

งกล่

าวมี

ความสั

มพั

นธ์

เกี่

ยวกั

บวั

ฒนธรรมดั้

งเดิ

มที่

มี

การถ่

ายทอด การ

สื

บต่อ และการอนุ

รั

กษ์ให้คงอยู่จากบรรพบุ

รุ

ษ ในรูปแบบที่

ปรั

บเปลี่

ยนไป แต่ก็

ยั

ถื

อว่

าเป็

นการอนุ

รั

กษ์

ให้

คงอยู่

จนถึ

งปั

จจุ

บั

น ทั้

งนี้

การสั

งเคราะห์

งานภายใต้

ประเด็