Previous Page  12 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 12 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

11

เพื่

อน�

ำมาก�

ำหนดรูปแบบพฤติ

กรรมต่

างๆ ซึ่

งในปั

จจุ

บั

นมั

กจะเรี

ยนตามแนวคิ

ดของ

สหประชาชาติ

โดยกรมส่

งเสริ

มวั

ฒนธรรมได้

ใช้

ภูมิ

ปั

ญญามรดกทางวั

ฒนธรรม

(intangible culture)

อย่

างไรก็

ตามส�ำหรั

บผู้

เขี

ยนนั้

นมี

ความเห็

นทั้

งสองประเภทรวมกั

น กล่

าวคื

วั

ฒนธรรมจะหมายถึ

งวิ

ถี

แห่

งการด�

ำรงชี

พที่

มนุ

ษย์

สร้

างขึ้

น รวมทั้

งระบบความรู้

ความคิ

ด และความเชื่

อ จนมี

การยอมรั

บปฏิ

บั

ติ

กั

นมา มี

การอบรมและถ่

ายทอดไป

สู่

สมาชิ

กรุ

นต่

อมา ตลอดจนมี

การเปลี่

ยนแปลงให้

เข้

ากั

บสภาพสิ่

งแวดล้

อมของ

มนุ

ษย์

มักจะเป็นที่

ทราบกั

นดี

ว่า รั

ฐบาลได้ให้ความสนใจเกี่

ยวกั

บวั

ฒนธรรมอย่าง

ต่

อเนื่

อง กล่

าวคื

อหากชนชาติ

ใด ไม่

มี

วั

ฒนธรรม ก็

จะขาดความเป็

นชาติ

ดั

งนั้

รั

ฐบาลไทยทุ

กยุ

คทุ

กสมั

ยจึ

งให้

ความส�

ำคั

ญของวั

ฒนธรรมโดยได้

ก�

ำหนดเป็

นหน้

าที่

หนึ่

งในรั

ฐธรรมนูญราชอาณาจั

กรไทยทุ

กฉบั

บในแนวนโยบายแห่

งชาติ

ที่

รั

ฐจะให้

การ

สนั

บสนุ

นการวิ

จั

ย นอกจากนี้

ได้มี

หน่วยงานเที

ยบเท่ากรมในการท�

ำหน้าที่

ด้านการ

วิ

จั

ยด้านต่างๆ เช่น คณะกรรมการวิ

จั

ยแห่งชาติ

คณะกรรมการวั

ฒนธรรมแห่งชาติ

และคณะกรรมการสนั

บสนุ

นการวิ

จั

ย เป็

นต้

น โดยเฉพาะอย่

างยิ่

งคณะกรรมการ

วั

ฒนธรรมแห่

งชาติ

ซึ่

งต่

อมาในปั

จจุ

บั

น ก็

คื

อ กรมส่

งเสริ

มวั

ฒนธรรม กระทรวง

วั

ฒนธรรม ได้

ท�

ำหน้

าที่

การวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมในระดั

บต่

างๆ ภารกิ

จเกี่

ยวกั

บการส่

งเสริ

และบ�

ำรุ

งรั

กษาวั

ฒนธรรมไทยโดยการศึ

กษา ค้

นคว้

า วิ

จั

ย ฟื

นฟู อนุ

รั

กษ์

พั

ฒนา เผยแพร่

และส่

งเสริ

มหน่

วยงานของรั

ฐ เอกชนและประชาชนที่

ด�

ำเนิ

นงานด้

านวั

ฒนธรรม

รวมทั้

งด�

ำเนิ

นการเกี่

ยวกั

บการประสานงานและแลกเปลี่

ยนด้

านวั

ฒนธรรม

ดั

งนั้

น วั

ฒนธรรมจึ

งเป็

นเรื่

องที่

ส�

ำคั

ญของชาติ

ชนชาติ

ใดให้

ความส�

ำคั

ญของการวิ

จั

ซึ่

งถื

อว่

าการวิ

จั

ยเป็

นกิ

จกรรมการพั

ฒนาปั

ญหาของชาติ

ไม่

ว่

าจะเป็

นการพั

ฒนา

ประเทศในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งจะท�ำให้ชนชาตินั้

มี

ความเข้มแข็

ง และพั

ฒนาอย่างสมดุ

ลกั

บการเปลี่

ยนแปลงในกระแสโลกาภิ

วั

ฒน์

ในทุ

กๆ ด้านดั

งกล่าว