12
โสวัฒนธรรม
แต่
อย่
างไรก็
ตาม ประเทศไทยแม้
จะมี
การพั
ฒนา และส่
งเสริ
มการวิ
จั
ย
ด้านเศรษฐกิ
จ การเมื
อง สั
งคม และวั
ฒนธรรม ก็
ยั
งไม่อาจใช้งานวิ
จั
ย โดยเฉพาะ
การวิจัยวัฒนธรรม เป็นเครื่องมือส�
ำคัญ เพื่อผลักดันให้เกิดการพัฒนาประเทศได้
ดั
งนั้
น กรมส่งเสริ
มวั
ฒนธรรม กระทรวงวั
ฒนธรรม ในฐานะที่
มี
ภาระหน้าที่
ส�
ำคั
ญ
อย่
างหนึ่
งในการส่
งเสริ
มการวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมอย่
างสื
บเนื่
องมาจนถึ
งปั
จจุ
บั
น จึ
งได้
ตระหนั
กถึงความส�ำคัญของการประเมินและสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้การ
วิจัยวัฒนธรรมในประเทศไทยที่
ผ่
านมา เพื่อจะได้
รวบรวมข้
อมูลด้
านวั
ฒนธรรมที่
ได้
ด�
ำเนิ
นการมาแล้
ว น�
ำไปเสนอในการจั
ดท�
ำเป็
นบรรณนิ
ทั
ศน์
ในรูปของรายงานการ
วิ
จั
ย และสื
บค้
นด้
วยระบบ computer และเพื่
อประเมิ
นสถานภาพองค์
ความรู้
ซึ่
งจะ
น�
ำไปสู่
การสั
งเคราะห์
องค์
ความรู้
การวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมของสั
งคมไทย ได้
น�
ำไปเผยแพร่
ในรูปของรายงานการวิจัย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการน�
ำไปใช้ในการพัฒนาสังคม
และท้
องถิ่
นอย่
างมี
ประสิ
ทธิ
ภาพ และประสิ
ทธิ
ผลในการน�ำไปใช้
ในการพั
ฒนาด้
าน
เศรษฐกิ
จ การเมื
อง สั
งคม และวั
ฒนธรรมอย่างยั่
งยื
นสื
บไป
ดั
งนั้
นคณะอนุ
กรรมการวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ ส�
ำนั
กงาน
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติในยุคนั้
น (ปัจจุบัน คือ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
กระทรวงวั
ฒนธรรม) จึ
งได้
ส�
ำรวจเอกสาร โดยก�
ำหนดเป็
นประเด็
นต่
างๆ ไว้
เป็
น
7 ประเด็
น คื
อ พลั
งความคิ
ดและภูมิ
ปั
ญญา ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
ศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมกับการพัฒนา วัฒนธรรมชายขอบและวัฒนธรรมย่อย
วั
ฒนธรรมกั
บโครงสร้
างเศรษฐกิ
จและการเมื
อง และอั
ตลั
กษณ์
และการปรั
บตั
วทาง
วั
ฒนธรรม ปรากฏว่
าเมื่
อได้
ส�
ำรวจบรรณานุ
กรมและจั
ดท�
ำเป็
นบรรณนิ
ทั
ศน์
แล้
ว
คงเหลื
อ 4 ประเด็
นที่
ต้องท�
ำการส�
ำรวจ เพื่
อจั
ดท�
ำบรรณานิ
ทั
ศน์และบรรณานุ
กรม
คื
อ ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
พลั
งความคิ
ดและภูมิ
ปั
ญญา วั
ฒนธรรมกั
บการ
พั
ฒนา และศิ
ลปวั
ฒนธรรม โดยได้
จั
ดพิ
มพ์
เป็
นหนั
งสื
อเล่
มนี้
ขึ้
น เพื่
อเสนอบทความ
วิ
จั
ยตามผลงานการศึ
กษาวิ
จั
ยวัฒนธรรมทั้
ง 4 ประเด็
นดั
งกล่าว