Previous Page  11 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 11 / 318 Next Page
Page Background

10

โสวัฒนธรรม

ตลอดจนวั

ฒนธรรมในทางการปกครองมี

ลั

กษณะที่

คนทั่

วไปเข้

าใจกั

น กล่

าว

คื

อ ประเทศไทยเคยก�

ำหนดความหมายของวั

ฒนธรรมในพระราชบั

ญญั

ติ

วั

ฒนธรรม

แห่งชาติ

พ.ศ.2485 ว่า “ลั

กษณะที่

แสดงถึ

งความเจริ

ญงอกงาม ความเป็นระเบี

ยบ

เรี

ยบร้อย ความกลมเกลี

ยวก้าวหน้าของชาติ

และศี

ลธรรมอั

นดี

ของประชาชน”

อย่

างไรก็

ดี

วั

ฒนธรรมในทางสั

งคมศาสตร์

มี

ความหมายที่

แตกต่

างกั

ความหมายของคนทั่

วไปที่

ใช้กั

น คื

อ นั

กสั

งคมศาสตร์จะไม่เป็นเรื่

องคุ

ณธรรม หรื

จริ

ยธรรมไม่

เป็

นเรื่

องความดี

ความเลว ความเหมาะสม และความไม่

เหมาะสม แต่

จะ

พิ

จารณาถึ

งวั

ฒนธรรมในแง่

ของปั

จจั

ยส�

ำคั

ญที่

อ�

ำนวยความสะดวกต่

อการด�

ำรงชี

วิ

ของมนุ

ษย์ในสั

งคม จึ

งมี

กระแสแนวความคิ

ดที่

เกี่

ยวกั

บ “วั

ฒนธรรม” ว่า หมายถึ

วิ

ถี

การด�

ำเนิ

นชี

วิ

ต (The Way of Life) ของคนในสั

งคม เช่น การกิ

น การอยู่ การ

แต่งกาย การท�ำงาน การพักผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อสาร การจราจรและ

ขนส่ง การอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ และหลักเกณฑ์การด�

ำเนิ

นชีวิต เป็นต้น โดยมี

การประพฤติ

ปฏิ

บั

ติ

สื

บต่อกั

นมา

นอกจากการเข้

าใจความหมายของวั

ฒนธรรมแล้

ว จะต้

องเข้

าใจ และเรี

ยนรู้

ว่

า วั

ฒนธรรมย่

อมเปลี่

ยนแปลงไปตามเงื่

อนไขและกาลเวลา ซึ่

งเกิ

ดจากการ

ประดิ

ษฐ์

หรื

อค้

นพบสิ่

งใหม่

วิ

ธี

ใหม่

ที่

ใช้

แก้

ปั

ญหาและตอบสนองความต้

องการของ

สั

งคมได้

ดี

กว่

า ซึ่

งอาจท�

ำให้

สมาชิ

กของสั

งคมเกิ

ดความนิ

ยม และในที่

สุ

ดอาจเลิ

กใช้

วั

ฒนธรรมเดิ

ม ดั

งนั้

น การรั

กษาหรื

อธ�

ำรงไว้

ซึ่

งวั

ฒนธรรมเดิ

ม จึ

งต้

องมี

การปรั

บปรุ

เปลี่

ยนแปลงหรื

อพั

ฒนาวั

ฒนธรรมให้เหมาะสมอย่างมี

ประสิ

ทธิ

ภาพตามยุ

คสมั

เมื่อพิจารณาจากนิยามวัฒนธรรมข้างต้

น เราอาจจะแยกความหมายของ

วั

ฒนธรรมได้ 2 ประเภท คื

อ ประเภทที่

1 พวกที่

นิ

ยามวั

ฒนธรรม หมายถึ

ง ทุ

กสิ่

ทุ

กอย่

างที่

รวมเอาความรู้

ความเชื่

อ ศิ

ลปะ ศี

ลธรรม กฎหมาย ประเพณี

ความสามารถ

และนิ

สั

ยอื่

นๆ ที่

มนุ

ษย์

ได้

มาในฐานะเป็

นสมาชิ

กของสั

งคม ในความหมายนี้

ได้

พิ

จารณาความหมายของวั

ฒนธรรมในแง่

ส่

วนรวมของวิ

ถี

การด�

ำเนิ

นชี

วิ

ตใน

สังคม ประเภทที่ 2 เป็นพวกที่พิจารณาความหมายของวัฒนธรรมในฐานะที่เป็น

ระบบความคิ

ด หรื

อในลั

กษณะระบบความรู้

และความเชื่

อที่

คนในสั

งคมได้

รั

บรู้