224
สืบโยดสาวย่าน
ครอบครั
วและชุ
มชนลดลง ครอบครั
วมี
รายจ่
ายสูงขึ้
น และชาวบ้
านพึ่
งพาปั
จจั
ยจาก
ภายนอกมากขึ้
น
ศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงวิ
ถี
การท�ำสวนของชาวบ้านต�
ำบลเขาพระ
อ�
ำเภอรั
ตภูมิ
จั
งหวัดสงขลา ตั้
งแต่ พ.ศ.2470-2546
(สมพร วั
ฒนกุ
ล, 2547) เดิ
ม
ชาวบ้านเขาพระ ประกอบอาชี
พท�
ำสวนผลไม้แบบดั้
งเดิ
ม ภายหลั
งมี
การสนั
บสนุ
น
ให้ปลูกยางพาราและผลไม้เชิ
งเดี่
ยว ท�
ำให้ชาวบ้านใช้สารเคมี
และพึ่
งพาเทคโนโลยี
สมั
ยใหม่มากขึ้
น ส่งผลกระทบที่
ส�
ำคั
ญ ได้แก่ การพึ่
งพาเทคโนโลยี
ภายนอก การ
จ้างแรงงาน ความสั
มพั
นธ์ในครอบครั
วน้อยลง และสิ่
งแวดล้อมเสื่
อมโทรมลง
การ
ศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงวิ
ถี
การท�ำนาของชาวบ้
านในอ�ำเภอระโนด จั
งหวั
ดสงขลา
(อ�
ำพน แสงดี
, 2546) พบว่
า ปั
จจั
ยการที่
ท�
ำให้
การท�
ำนาลดน้
อยลง ได้
แก่
ประชากร
ลดลง ประชากรมี
การ ศึ
กษาที่สูงขึ้
น ประชากรมี
รายได้
และรายจ่
ายสูงขึ้
น และ
แรงงานการท�
ำนาลดลง การเปลี่
ยนแปลงด้
านวิ
ธี
การท�ำนา มี
การเปลี่
ยนแปลงด้
าน
ความเชื่
อ พิ
ธี
กรรม และวั
สดุ
และอุ
ปกรณ์ การเปลี่
ยนแปลงส่งผลกระทบต่อความ
สั
มพั
นธ์
ภายในชุ
มชนและภายนอกชุ
มชน
การศึ
กษาสภาพปั
ญหาและความต้
องการ
ปัจจัยการผลิตของเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรมที่บ้านแหลมดิน หมู่
ที่
11 ต�
ำบลดุ
สิ
ต อ�
ำเภอถ�้
ำพรรณรา จั
งหวั
ดนครศรี
ธรรมราช
(นาลิ
นี
ย์
ชอบผล, 2546)
ผู้
ศึ
กษาได้
ศึ
กษาสภาพปั
ญหาและความต้
องการปั
จจั
ยการผลิ
ต พบว่
า ชาวบ้
านส่
วน
ใหญ่
มี
ที่
ดิ
นท�
ำกิ
นน้
อยและไม่
มี
เอกสิ
ทธิ์
ในที่
ดิ
น ท�
ำให้
ไม่
สามารถแปลงสิ
นทรั
พย์
ที่
มี
อยู่
เป็
นทุ
นรอนในการผลิ
ตได้
ท�
ำให้
มี
การกู้
หนี้
ยื
มสิ
นจากแหล่
งภายในและภายนอก
นอกจากนี้
กระบวนการผลิตยังพึ่งพาแรงงานการจากภายนอกเกือบทั้งหมด มีค่า
ใช้จ่ายในการจ้างแรงงานสูง ประกอบกั
บเส้นทางคมนาคมในชุ
มชนไม่สะดวก น�้
ำ
ดื่มน�้ำใช้ไม่เพียงพอ และราคาผลผลิตตกต�่
ำและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สภาพและปั
ญหาดั
งกล่
าวปั
จจุ
บั
นยั
งไม่
ได้
รั
บการแก้
ไขจากผู้
ที่
เกี่
ยวข้
องหรื
อจาก
หน่วยงานภาครัฐแต่อย่างได
งานกลุ่มระบบการผลิ
ตและการจั
ดการผลิ
ต ใช้วิ
ธี
วิ
ทยาเชิ
งปริ
มาณ 2 เรื่
อง
ได้แก่
การประเมินความยั่งยืนของระบบไร่นาสวนผสมบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ
จั
งหวั
ดสงขลา
(ปิยะนุ
ช เจริ
ญศรี
, 2543) งานชิ้
นนี้
กล่าวถึ
ง การท�
ำไร่นาสวนผสม