220
สืบโยดสาวย่าน
ซึ่
งได้
จากการเลื
อกตั้
ง ประกอบด้
วย คณะกรรมการอ�
ำนวยการ คณะกรรมการ
เงินกู้ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการตรวจส่งเสริม กิจกรรมหลักที่
กลุ่มด�
ำเนิ
นการ คื
อ การรั
บฝากเงิ
น บริ
การเงิ
นกู้ ให้ความรู้แก่สมาชิ
ก และจั
ดท�
ำ
โครงการเสริ
มรายได้
ให้
กั
บสมาชิก ในส่
วน
การด�ำเนิ
นงานพัฒนาชนบทของสภา
ต�
ำบล ในอ�
ำเภอหนองจิ
ก จั
งหวั
ดปัตตานี
(ปัญญา จิ
นดาวงศ์, 2540) มุ่งศึ
กษาการ
ท�ำงานของสภาต�
ำบล มีการเก็บข้อมูลเอกสาร และสัมภาษณ์บุคล สาระส�
ำคัญ
ของงานนี้
กล่าวถึ
ง งานพั
ฒนาชนบทของสภาต�
ำบลในอ�
ำเภอหนองจิ
ก ได้แก่ การ
ท�
ำแผนพั
ฒนาต�
ำบล การตรวจสอบและการจั
ดล�
ำดั
บความส�
ำคั
ญของโครงการ
การพิ
จารณาให้
ความเห็
นชอบโครงการ การเสนอโครงการ และการปฏิ
บั
ติ
ตาม
โครงการ การท�
ำงานส่
วนใหญ่
เป็
นงานตามโครงสร้
างที่
ก�ำหนดมาจากส่
วนกลาง
บทบาทด้
านการพั
ฒนาชุ
มชนของหน่
วยงานนี้
จึ
งขาดความโดดเด่
น ส�
ำหรั
บ
ยุ
ทธศาสตร์
พั
ฒนาการมี
ส่
วนร่
วมในกระบวนการพั
ฒนาชุ
มชนของผู้
น�ำชุ
มชน ต�
ำบล
โมถ่าย อ�
ำเภอไชยา จั
งหวั
ดสุ
ราษฎร์ธานี
(ณั
ฐพงศ์ สุ
วรรณศิ
ลป์, 2547)
เป็นการ
มองนั
ยการพั
ฒนางานวั
ฒนธรรมในระดั
บผิ
วเผิ
น มากกว่
าจะเชื่
อมโยงปั
ญหาที่
เกิ
ด
ขึ้
นกั
บการแก้ปัญหาเพื่
อสร้างความเข้มแข็
งของชุ
มชน
ในส่วนงานบทความมีเพียงเรื่องเดียว คือ
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ
จั
ดการศึ
กษา : กรณี
ศึ
กษาภาคใต้
(จ�
ำนง แรกพิ
นิ
จ, 2541) งานชิ้
นนี้
ศึ
กษาปัจจั
ย
ที่เอื้
อต่
อการมี
ส่
วนร่
วมของชุ
มชนในการจั
ดการศึ
กษา และแสวงหาแนวทางเสริม
สร้
างศั
กยภาพของสถานศึ
กษาให้
สามารถจั
ดการศึ
กษาได้
อย่
างมี
ประสิ
ทธิ
ภาพโดย
ให้ชุ
มชนเข้ามามี
ส่วนร่วม ผู้ศึ
กษาเลื
อกพื้
นที่
ศึ
กษา 4 โรงเรี
ยนซึ่
งมี
ทั้
งชาวไทยพุ
ทธ
และชาวไทยมุ
สลิ
มอาศั
ยอยู่ร่วมกั
น สองโรงเรี
ยนอยู่ในชนบท ส่วนอี
กสองโรงเรี
ยน
อยู่ในเมือง พบว่า ปัจจัยที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย ความสัมพันธ์เชิง
ประวั
ติ
ศาสตร์
กั
บชุ
มชน ภาวะผู้
น�
ำของบุ
คลากรในโรงเรี
ยน การจั
ดการเรี
ยนการสอน
และการเรี
ยนรู้ของชุ
มชน ในส่วนรูปแบบของการมี
ส่วนร่วม ได้แก่ การใช้โรงเรี
ยน
เป็
นศูนย์
กลางโดยใช้
กิ
จกรรมการเรี
ยนการสอน และการบริ
การให้
ประชาชนเข้
ามามี
ส่
วนใช้
ชุ
มชนเป็
นศูนย์
กลางโดยใช้
กิ
จกรรมการเรี
ยนการสอนให้
สั
มพั
นธ์
กั
บครอบครั
ว