Previous Page  220 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 220 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

219

ปี

ที่

6

(ภั

ทรา บุ

ญสุ

ยา, 2545) พบว่

า ระดั

บความเชื่

อเรื่

องบุ

ญ – บาป ตามกฎแห่

งกรรม

ในพระพุทธศาสนาอยู่ในระดับที่ไม่แน่นอน ส�ำหรับการเปรียบเทียบความเชื่อเรื่อง

บุ

ญ – บาป ตามกฎแห่งกรรมในพระพุ

ทธศาสนา มี

ความไม่แตกต่างกั

นตามเพศ

ระดับผลการเรียน แผนการเรียน อาชีพของผู้ปกครอง และอนาคตของครอบครัว

ศึ

กษาการมี

ส่

วนร่

วมในการด�

ำเนิ

นงานของกรรมการกลุ

มเกษตรกรในภาคใต้

(สมคิ

รั

ตนวงศ์, 2542)

พบว่า ในระดั

บการมีส่วนร่วมอยู่ในระดั

บปานกลาง

กลุ่มพิ

ทั

กษ์

สวั

สดิ

ภาพชาวโคกโพธิ์

: พลั

งชาวบ้

านเพื่

อสวั

สดิ

การชุ

มชน สงขลา

(กนกรั

ตน์

ชูศรี

,

2549) พบว่

า ปั

จจั

ยที่

ก่

อให้

เกิ

ดการมี

ส่

วนร่

วม ได้

แก่

การยอมรั

บ ความมั่

นคง ความ

ปลอดภั

ย การเข้

าร่

วมกิ

จกรรมของกลุ่

ม และสวั

สดิ

การที่

สมาชิ

กได้

รั

บ ลั

กษณะการ

มี

ส่วนร่วม ประกอบด้วย การร่วมวางแผน ร่วมปฏิ

บั

ติ

ร่วมได้รั

บผลประโยชน์ และ

การร่

วมประเมิ

น และ

ศึ

กษาการพั

ฒนาบ้

านเขาตาว ต�

ำบลเขาตาว อ�

ำเภอทุ

งสง

จั

งหวั

ดนครศรีธรรมราช

(อั

ชญา เคารพาพงศ์, 2541) พบว่า ปัจจั

ยส�

ำคั

ญที่

สุ

ดใน

การพั

ฒนา คื

อ ผู้น�

ำชุ

มชนทั้

งผู้น�

ำในระบบราชการ และผู้น�

ำตามธรรมชาติ

ซึ่

งต้อง

มี

ความเสี

ยสละ ความรั

บผิ

ดชอบ และสร้

างพลั

งต่

อสู้

เพื่

อการเปลี่

ยนแปลง ส่

วน

ลั

กษณะของการพั

ฒนามี

ทั้

งด้านเศรษฐกิ

จ และด้านสั

งคมและวั

ฒนธรรม ส�ำหรั

วิ

ทยานิ

พนธ์

ที่

ใช้

วิ

ธี

วิ

ทยาเชิ

งคุ

ณภาพ 4 เรื่

อง ได้

แก่

การด�

ำเนิ

นงานและผลการ

ด�ำเนิ

นงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านคลองหวะ ต�

ำบลคอหงส์

อ�

ำเภอ

หาดใหญ่

จั

งหวั

ดสงขลา

(จั

นทิ

มา ไฉไล บุ

ญสนอง, 2539)

การด�

ำเนิ

นการของ

กลุ

มออมทรั

พย์

เพื่

อการผลิ

ตบ้

าน จะทิ้

งพระ ต�

ำบลจะทิ้

งพระ อ�

ำเภอสทิ

งพระ

จั

งหวั

ดสงขลา (

อรั

ญพั

นธ์

เวชประชา, 2542)

การด�

ำเนิ

นงานพั

ฒนาชนบทของ

สภาต�ำบล ในอ�ำเภอหนองจิก จั

งหวั

ดปั

ตตานี

(ปั

ญญา จิ

นดาวงศ์

, 2540)

และ

ยุ

ทธศาสตร์

พั

ฒนาการมี

ส่

วนร่

วมในกระบวนการพั

ฒนาชุ

มชนของผู้

น�

ำชุ

มชน

ต�

ำบลโมถ่

าย อ�ำเภอ ไชยา จั

งหวั

ดสุ

ราษฎร์

ธานี

(ณั

ฐพงศ์

สุ

วรรณศิ

ลป์

, 2547)

สองเรื่

องแรก มี

วิ

ธี

วิ

ทยาและผลการศึ

กษาที่

คล้

ายคลึ

งกั

น แตกต่

างกั

นที่

ข้

อมูลบริ

บท

ด้านพื้นที่ และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา มุ่งศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการ

ศึ

กษา และเก็

บข้

อมูลภาคสนามโดยการสั

มภาษณ์

ผู้

น�

ำกลุ

มและสมาชิ

ก ผลการ

ศึกษาพบว่า การด�ำเนิ

นงานของทั้งสองกลุ่มมีการบริหารงานโดยมีคณะกรรมการ