บทที่ 3
อัตลักษณ์และความหลากหลายทางชาติพันธุ์
อาภรณ์ อุ
กฤษณ์
3.1 บทน�ำ
กระบวนการเรียนรู้
เพื่อท�ำความเข้าใจตนเองและภาวะแวดล้
อมทางสังคม
นอกจากสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่
างตนเองกับ ครอบครัว เครือญาติ
ชุ
มชน ชาติ
และสั
งคมโลกแล้วควรเข้าถึ
งประวั
ติ
ศาสตร์ท้องถิ่
น ความเป็นมาของ
สั
งคมและวั
ฒนธรรมของผู้คนในแต่ละชุมชน แต่ละภาคส่วน แต่ละกลุ่มชาติ
พันธุ์
(ethnic groups) ที่
มี
อั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์ (ethnic identity) แตกต่าง หลากหลาย
ซึ่
งอาศั
ยอยู่ร่วมกั
นเป็นสั
งคมด้วย
ความหมายของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ (ethnic groups) ตามทั
ศนะของ เบอร์นาร์ด
(Bernard, 1972 : 3) หมายถึ
ง กลุ
่
มคนที่
อาศั
ยอยู่
ร่
วมกั
นภายใต้
ร่
มวั
ฒนธรรม
เดียวกัน ท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันมีสถาบันความเชื่อเดียวกัน มีภูมิหลังทางด้าน
ประวั
ติ
ศาสตร์
และภาษาเหมื
อนกั
น สิ่
งที่
มี
อยู่
ไม่
ได้
สื
บทอดทางชี
วภาพหรื
อมี
มา
แต่ก�
ำเนิ
ดแต่เป็นส่
วนหนึ่
งของมรดกทางวัฒนธรรมที่เกิดจากการตอบสนองความ
ต้
องการพื้
นฐานจากประสบการณ์
ของกลุ่
ม ซึ่
งแนวคิ
ดด้
านชาติ
พั
นธุ์
ทางวั
ฒนธรรม
นี้
บาร์
ท (Barth, 1969 : 14) มองว่
า ลั
กษณะ ร่
วมทางวั
ฒนธรรมบางอย่
างเป็
นเพี
ยง
การปรั
บตั
วตามสภาพแวดล้
อมเท่
านั้
น แต่
ละฝ่
ายไม่
นั
บว่
าเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
เดี
ยวกั
น