120
สืบโยดสาวย่าน
จึ
งควรให้
ความส�
ำคั
ญเฉพาะลั
กษณะวั
ฒนธรรมบางอย่
างที่
แสดงถึ
งความเป็
น
อั
ตลั
กษณ์ของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์เดี
ยวกั
น เช่น การแต่งกาย ภาษา ที่
พั
กอาศั
ย วิ
ถี
ชี
วิ
ต
และค่านิ
ยมพื้
นฐานที่
เข้ากั
นได้ เช่น มาตรฐานทางศี
ลธรรม จริ
ยธรรม ความดี
งาม
ซึ่
งสมาชิ
กในกลุ่มเป็นผู้ตัดสิ
นหรื
อให้คุ
ณค่า
ค�
ำว่
า “อั
ตลั
กษณ์
” เป็
นเรื่
องของความเข้
าใจและการรั
บรู้
ว่
าเราเป็
นใครและ
คนอื่
นเป็
นใคร และเป็
นสิ่
งที่
ถูกสร้
างขึ้
นโดยกระบวนการทางสั
งคม เมื่
อตกผลึ
กแล้
ว
อาจจะมีความคงที่ ปรับเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบไป ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับความ
สัมพันธ์ทางสังคมเป็นหลัก ซึ่งตามความหมายของเจนกินส์ (Richard Jenkins) มี
สองนั
ยยะด้วยกั
น คื
อความเหมื
อนและความเป็นลั
กษณะเฉพาะที่
แตกต่างออกไป
อั
ตลั
กษณ์
มิ
ใช่
เป็
นสิ่
งที่
มี
อยู่
แล้
วในตั
วของมั
นเอง หรื
อก�
ำเนิ
ดขึ้
นมาพร้
อมกั
บคน
หรื
อสิ่
งของ แต่เป็นสิ่
งที่
ถูกสร้างขึ้
นและมี
ลั
กษณะขอการเป็น พลวั
ตอยู่ตลอดเวลา
(ประสิ
ทธิ์
ลี
ปรี
ชา, 2547: 33)
“อั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์” (ethnic identity) จึ
งหมายถึ
งลั
กษณะเฉพาะทาง
สั
งคมและวั
ฒนธรรของกลุ
่
มชนใดกลุ
่
มชนหนึ่
งที่
มี
ร่
วมกั
นและแตกต่
างไปจากคน
กลุ่มอื่
น (ขวั
ญชี
วั
น บั
วแดง, 2546 : 75) ทั้
งนี้
ตามทั
ศนะของปิ่นแก้ว เหลื
องอร่ามศรี
(2546 : 9) มอง“อั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ์
” ในฐานะกระบวนการที่
ไม่
อาจจะแยกออก
จากความสัมพันธ์
กับหน่วยทางสังคมอื่นๆ ได้
โดยเฉพาะอย่
างยิ่งในบริบทความ
สั
มพั
นธ์
กั
บ รั
ฐชาติ
ความสั
มพั
นธ์
ทางชาติ
พั
นธุ
์
จึ
งไม่
เพี
ยงแต่
เป็
นความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม หากแต่
เป็
นความสั
มพั
นธ์
ทางอ�
ำนาจระหว่
างกลุ
่
มชนผู้
มี
อ�
ำนาจ (dominant group) ผู้สถาปนาตนเองขึ้
นเป็นชนกลุ่มใหญ่กั
บกลุ่มชนที่
ด้อย
อ�
ำนาจกว่า (subordinate group)
สั
งคมไทยเป็
นสั
งคมพหุ
วั
ฒนธรรม ประกอบด้
วยกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ที่
มี
อั
ตลั
กษณ์ของตนเอง มี
ทั้
งชนกลุ่มน้อย กลุ่มใหญ่ อาศั
ยอยู่ร่วมกั
นบนแผ่นดิ
นไทย
ท่
ามกลางความแตกต่
างทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม การศึ
กษาเรื่
องราวของกลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ
์
ในยุ
คแรกๆ ของไทยปรากฏในงานเขี
ยน ของพระยาอนุ
มานราชธน เกี่
ยวกั
บ
ประเพณี
พิ
ธี
กรรม ในแต่
ละภาคของไทย โดยได้
รั
บแรงบั
นดาลใจจากการได้
มี
โอกาส