งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
143
ขวัญชีวัน บัวแดง (2554) “โครงการการปรับตัวทางสังคมและวัฒนธรรมของทายาทรุ่นที่ 2 ของ
ผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า” รายงานการวิจัยเสนอต่อส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
คาราเต้ สินชัยวอระวงศ์ (2546) “การศึกษาเปรียบเทียบการตั้งถิ่นฐานและสถาปัตยกรรม
ของชนกลุ่มน้อยเผ่าอ่าข่า ระหว่างแขวงหลวงน�้ำทา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
ลาว และจังหวัดเชียงราย ประเทศไทย” เชียงใหม่ : ความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง
คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว และ คณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จ้าวหงหยิน และ สมพงษ์ วิทยศักดิ์พันธ์ (แปลและเรียบเรียง) (2544)
พงศาวดารเมืองไท: เครือ
เมืองกูเมือง
กรุงเทพฯ: โครงการประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมชนชาติไท
จิรศักดิ์ มาสันเทียะ (2543) “บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนตะวันตก ในการช่วยเหลือผู้ลี้ภัย
ชาวกะเหรี่ยงตามแนวชายแดนไทย-พม่า” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาการ
เมืองและการปกครอง) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เจษฎา โชติกิจภิวาทย์ (2542) “การจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาการจัดการไร่หมุนเวียน
ของชาวปกาเกอญอในจังหวัดเชียงใหม่” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพัฒนา
สังคม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ (2547) “ทบทวนแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์ข้ามยุคสมัยกับการศึกษา
ในสังคมไทย” ใน
ว่าด้วยแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์
กรุงเทพ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิริน
ธร (องค์การมหาชน) หน้า 1-126
ชลดา มนตรีวัต (2544)
ชีวิตความเจ็บปวดของลูกสาวลาหู่ที่ครอบครัวขายเป็นสินค้า
เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณกานต์ อนุกูลวรรธกะ (2554) “กระบวนการรื้อฟื้นส�ำนึกทางประวัติศาสตร์และการจัดตั้ง
วัฒนธรรมไทยลื้อชุมชนเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา ช่วงทศวรรษ 2520-2550” วิทยานิพนธ์
มหาบัณฑิต (สาขาวิชาประวัติศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทรงศักดิ์ เทพสาร (2542) “คุณภาพชีวิตของครัวเรือนชาวเขาในชุมชนเทศบาลนครเชียงใหม่”
วิทยานิพนธ์ปริญญาโทสาขาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทวิช จตุวรพฤกษ์ (2538) “พิธีกรรมเพื่อสืบทอดความเป็นชาติพันธุ์ของชาวนายากจน: กรณีศึกษา
การปรับตัวทางวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าลีซอในจังหวัดเชียงใหม่” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต
(สาขาวิชาการพัฒนาสังคม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทวิช จตุวรพฤกษ์ (2541)
เสียงจากคนชายขอบ: ศักดิ์ศรีความเป็นคนของชาวลีซอ
เชียงใหม่: ศูนย์ภูมิภาคเพื่อการศึกษาสังคมศาสตร์และการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทวิช จตุวรพฤกษ์ (2548) “พรมแดน อัตลักษณ์และกระบวนการกลายเป็นสินค้าการเมือง
วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทของการท่องเที่ยว” บทความน�ำเสนอในที่ประชุม
ประจ�ำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 4 วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง 23-25 มีนาคม