Previous Page  213 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 213 / 318 Next Page
Page Background

212

โสวัฒนธรรม

นอกจากนี้

งานวิ

จั

ยบางเรื่

องได้

กล่

าวถึ

งพฤติ

กรรมการบริ

โภคอาหารของชาวอี

สานว่

ในอดี

ตมี

พฤติ

กรรมในการบริ

โภคอาหารแบบสุ

กๆ ดิ

บๆ ประเภทลาบ ก้

อยและปลา

ดิ

บ จึ

งเป็นสาเหตุ

ให้เกิ

ดโรคพยาธิ

ต่างๆ แต่ในปัจจุ

บั

นพฤติ

กรรมการบริ

โภคอาหาร

แบบสุ

กๆ ดิ

บๆ นั้

นเริ่

มลดลง สาเหตุ

ที่

ท�

ำให้

พฤติ

กรรมการบริ

โภคที่

ไม่

ถูกสุ

ขลั

กษณะ

ลดลงนั้

นสื

บเนื่

องมาจากการที่

ชาวอี

สานได้รั

บการศึ

กษาสูงขึ้

น การประชาสั

มพั

นธ์

ด้

านสาธารณสุ

ขของรั

ฐเป็

นไปอย่

างมี

ประสิ

ทธิ

ภาพเข้

าถึ

งทุ

กชุ

มชนทุ

กหมู่

บ้

านนั่

นเอง

ส�

ำหรั

บโรคที่

เกี่

ยวข้

องกั

บพฤติ

กรรมการบริ

โภคอาหารที่

ไม่

เหมาะสมที่

พบเห็

บ่

อยๆ ในหมู่

คนอี

สานคื

อ โรคอุ

จจาระร่

วง โรคบิ

ด อาหารเป็

นพิ

ษ โรคพยาธิ

ต่

างและ

โรคขาดสารอาหาร เป็นต้น

2. กลุ่มการป้องกัน

มี

จ�

ำนวนผลงานวิ

จั

ย 13 เรื่

อง ซึ่

งกล่

าวถึ

งการป้

องกั

นตน

ให้

พ้

นจากโรคภั

ยต่

างๆ ที่

เกิ

ดขึ้

นและอยู่

ในความสนใจของประชาชนในขณะนั้

เช่นโรคไข้เลือดออก โรคฉี่

หนู เป็นต้น โดยกระทรวงสาธารณสุขจะเป็นหน่วยงาน

หลั

กในการรณรงค์

ให้

ความรู้

ซึ่

งก็

ได้

ผลเป็

นอย่

างดี

ท�

ำให้

ประชาชนรู้

เท่

าทั

นโรค

ที่เกิดขึ้

นและรู้

จักวิ

ธีการป้

องกั

นตนให้

ปลอดภัยจากโรคร้

ายต่

างๆ ได้

ดี

ขึ้

น ดั

งเช่

ผลงานวิจัยของรุ่งทิพย์ ชาญชัยศิริกุล (2546) เรื่องสตรีแม่บ้านในวัฒนธรรมเขมร

กั

บบทบาทการดูแลรั

กษาสุ

ขภาพ : กรณี

ศึ

กษาบ้านตลุ

งเก่าจั

งหวั

ดบุ

รี

รั

มย์ พบว่า

บทบาทของผู้

หญิ

งที่

เป็

นแม่

บ้

านในชุ

มชนถูกก�

ำหนดโดยปั

จจั

ยทางสรี

รวิ

ทยา ปั

จจั

ทางสั

งคมวั

ฒนธรรม ที่

มี

การผสมผสานกั

นอย่

างลึ

กซึ้

งเป็

นผู้

มี

บทบาทส�

ำคั

ญในการ

ดูแลสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพให้ร่างกายมีความสมบูรณ์

แข็

งแรงอยู่เสมอ วงศา เลาหศิริ

และคณะ (2548) วิ

จั

ยเรื่

องบทบาทองค์การบริ

หาร

ส่

วนต�

ำบลในงานสาธารณสุ

ขท้

องถิ่

น : กรณี

ศึ

กษาในภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อ พบ

ว่าองค์การบริหารส่วนต�

ำบลมีบทบาทในด้านการควบคุมและป้องกันโรคที่ส�

ำคัญ

เช่น โรคไข้เลื

อดออก โรคฉี่

หนู การจั

ดการสุ

ขาภิ

บาลสิ่

งแวดล้อม

3. กลุ่มการดูแลรักษา

ผลงานวิ

จั

ยที่

จั

ดอยู่

ในกลุ

มการดูแลรั

กษานั้

นมี

จ�

ำนวน 17 เรื่

อง เป็นที่

น่าสั

งเกตว่างานวิ

จั

ยส่วนใหญ่จะเน้นในเรื่

องการดูแลรั

กษา

ผู้ป่วยที่

ติ

ดเชื้

อ HIV หรื

อเอดส์ โดยเสนอแนะวิ

ธี

ในการดูแลผู้ป่วยโดยวิ

ธี

การให้รู้จั