222
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
บรรณานุกรม
กุศล พยัคฆ์สัก (2555) ‘การเมืองวัฒนธรรมของคนหนุ่มสาวในการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่:
กรณีศึกษากลุ่มผู้น�ำหนุ่มสาวของเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือ’ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์
มหาบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กิติมา ขุนทอง (2555) ‘ปฏิบัติการช่วงชิงความรู้เรื่องพลังงานจากถ่านหิน: กรณีศึกษาโครงการพัฒนา
เหมืองถ่านหินเวียงแหง อ�ำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่’ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จิราลักษณ์ จงสถิต์มั่น (2538)
รายงานการวิจัยการรักษาผู้ติดเชื้อเอดส์ด้วยการปฏิบัติธรรม:
ศึกษากรณีวัดดอยเกิ้ง อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (2534) “แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน” ใน
วัฒนธรรมไทยกับขบวนการ
เปลี่ยนแปลงสังคม
(หน้า205-259) กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทรงพล รัตนวิไลลักษณ์ (2546) ‘การสร้างตัวตนผ่านการปฏิบัติเกี่ยวกับป่าของชุมชน
ปกาเกอะญอ’ วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทานาเบ, ชิเกฮารุ (2551)
ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ: กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือ
ของไทย
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
______ (2553) “ชนพื้นเมืองกับความเชื่อเรื่องเสาอินทขีลแห่งเชียงใหม่” ใน ชิเกฮารุ ทานาเบ
(ขวัญชีวัน บัวแดง และอภิญญา เฟื่องฟูสกุล บก.)
พิธีกรรมและปฏิบัติการในสังคมชาวนา
ภาคเหนือของประเทศไทย
(หน้า 63-100) เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ธัญลักษณ์ ศรีสง่า (2550) ‘ความซับซ้อนในอัตลักษณ์ของแรงงานนอกระบบ: กรณีศึกษาคนงาน
หญิงผลิตผ้าฝ้ายทอมือในจังหวัดล�ำพูน’ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
พัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นาวิน โสภาภูมิ (2554) ‘กลยุทธ์การต่อรองของเกษตรกรในระบบอุตสาหกรรมเกษตร-อาหาร: กรณี
ศึกษาเกษตรกรผู้ปลูกมันฝรั่งในจังหวัดเชียงใหม่’ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา
วิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปฐมพงศ์ มโนหาญ (2555) “การเมืองเรื่องการเลือกตั้งบนวิถีความเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบท
(ปีพ.ศ. 2525-2554): กรณีศึกษาพื้นที่บ้านดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว
(บก.)
การเมืองประชาธิปไตยในท้องถิ่นภาคเหนือ
(หน้า 33-71) เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและ
บริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่