

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
211
ฯลฯ ชุ
มชนต้
องพึ่
งพาปั
จจั
ยภายนอกมากขึ้
น ระบบการผลิ
ตและวิ
ธี
การผลิ
ตที่
เคยมี
อยู่
เดิ
มซึ่
งเน้
นการผลิ
ตเพื่
อบริ
โภคในครั
วเรื
อนได้
เปลี่
ยนแปลงไปสู่
การผลิ
ตเพื่
อบริ
โภค
และจ�
ำหน่
ายกั
บชุ
มชนภายนอก เมื่
อระบบการผลิ
ตเปลี่
ยนแปลงไป วั
ฒนธรรม
ความเชื่อ และค่านิยมก็ปรับเปลี่ยนตามไปด้วย ชุมชนรับเอาวัฒนธรรมภายนอก
มาปรั
บใช้กั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตมากขึ้
น
2) ศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงเศรษฐกิ
จและวั
ฒนธรรมชุ
มชน
ผู้
ศึ
กษาชี้
ให้
เห็
นวั
ฒนธรรมเดิ
มของพื้
นที่
ที่
ศึ
กษาเป็
นอย่
างไร เมื่
อมี
การเปลี่
ยนแปลงท�
ำให้
เกิ
ด
วัฒนธรรมใหม่ และวัฒนธรรมใหม่ที่ว่านี้เป็นเช่นไร วัฒนธรรมส่วนไหนที่ยังคงอยู่
หรื
อหายไป และวั
ฒนธรรมอะไรที่
มี
การปรั
บตั
วหรื
อคลี่
คลายเปลี่
ยนแปลงไปบ้
าง
ปั
จจั
ยที่
ส่
งผลต่
อการเปลี่
ยนแปลง ได้
แก่
ประชากรและคุ
ณภาพของ ประชากร
ทรั
พยากรธรรมชาติ
สาธารณูปโภคพื้
นฐาน สั
งคมและวั
ฒนธรรม การคมนาคม การ
ผลิ
ตและการบริ
โภค นโยบายรั
ฐ และเทคโนโลยี
ที่
ทั
นสมั
ย งานกลุ่มนี้
ได้แก่ ศึ
กษา
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของชาวบ้านในชุมชนคูขุด ต�ำบลคูคุด อ�ำเภอสทิงพระ
จั
งหวั
ดสงขลา (สุ
ธี
สั
งข์หิ
รั
ญ, 2542) การศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงของคลองอู่ตะเภา
ในเขตอ�
ำเภอหาดใหญ่ จั
งหวั
ดสงขลา (ปรานอม พงศ์อรุ
ณ, 2541) และศึ
กษาการ
เปลี่
ยนแปลงเศรษฐกิ
จของชุ
มชนสทิ้
งหม้
อ อ�
ำเภอสิ
งหนคร จั
งหวั
ดสงขลา (สั
ญญา
ศรี
คงทอง, 2546)
ในส่
วนของบทความมี
3 เรื่
อง บทความ 2 เรื่
องเป็
นการศึ
กษาการปรั
บตั
วทาง
วั
ฒนธรรมเนื่
องจากปั
ญหาทางด้
านเศรษฐกิ
จ ใช้
วิ
ธี
การศึ
กษาเชิ
งประวั
ติ
ศาสตร์
ด้
วย
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่ภาคสนามสัมภาษณ์ผู้รู้ สาระ
ส�
ำคั
ญของบทความกล่
าวถึ
ง สภาพปั
ญหา ได้
แก่
ปั
ญหาด้
านเศรษฐกิ
จ และปั
ญหา
ด้
านเงิ
นทุ
นในการผลิ
ต ผู้
เขี
ยนชี้
แนะการแก้
ปั
ญหาโดยให้
ชาวบ้
านรวมกลุ
่
มต่
อรองกั
บ
อ�
ำนาจจากภายนอก สร้
างความรู้
จั
ดการปั
ญหา และสร้
างภูมิ
คุ้
มกั
นด้
วยเครื
อข่
าย
ภายในและภายนอกชุ
มชน บทความกลุ
่
มนี้
ได้
แก่
พลิ
กปั
ญหาเป็
นปั
ญญาจากหมาก
แห้งบ้านทอนหงส์ (ชวน เพชรแก้ว, 2547) และวิ
ถี
ไทในยุ
ทธศาสตร์การพั
ฒนาการ
ใหม่
: เศรษฐกิ
จชุ
มชนแบบองค์
รวมและยั่
งยื
น (พิ
ทยา ว่
องกุ
ล, 2545) ส่
วนอี
ก