บทที่ 1 บทนำ�
ชวน เพชรแก้
ว
ความเข้าใจค�
ำว่า “วั
ฒนธรรม” แต่เดิ
มมุ่งเน้นสิ่
งที่
เป็นศิ
ลปวั
ฒนธรรม เป็น
มรดกภูมิ
ปั
ญญา เป็
นสิ่
งที่
ดี
งามของชาติ
บ้
านเมื
องและแผ่
นดิ
นที่
จะต้
องอนุ
รั
กษ์
เป็นส�ำคัญ นัยของวัฒนธรรมเน้นเพื่อแสดงถึงลักษณะความรักชาติหรือชาตินิยม
วั
ฒนธรรมจึ
งเป็
นไปเพื่
อการบูรณาการถึ
งการเป็
นรั
ฐ เป็
นประเทศชาติ
ที่
ต้
องเป็
น
สิ่งเหมือนกัน หรื
อมี
ความเป็
นอันหนึ่
งอั
นเดียวกัน โดยขาดการค�
ำนึ
งว่
าในรั
ฐหรื
อ
ประเทศชาติหลากหลายด้วยผู้คนหลายกลุ่ม หลายชาติพันธุ์ หลายภาษา หลาย
ศาสนา หลายประเพณี
ฯลฯ เมื่
อเป็
นเช่
นนี้
วั
ฒนธรรมจึ
งท�ำให้
เกิ
ดปั
ญหาข้อขั
ดแย้
ง
และเป็นอุ
ปสรรคต่อการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตร่วมกั
น แต่วั
ฒนธรรมในความหมายปัจจุ
บั
นไม่
ได้
จ�
ำกั
ดอยู่
เช่
นที่
ว่
านี้
การมองวั
ฒนธรรมในปั
จจุ
บั
นเป็
นไปในลั
กษณะองค์
รวมที่
เป็
น
ภาพเคลื่
อนไหว (Dynamic) คื
อ วั
ฒนธรรมเป็
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตร่
วมของกลุ่
มชนในสิ่
งแวดล้
อม
หนึ่
ง เนื่
องจากสิ่
งแวดล้
อมแตกต่
างกั
นในแต่
ละแห่
ง วั
ฒนธรรมแต่
ละแห่
งจึ
งมี
ความ
หลากหลาย มี
ลั
กษณะเฉพาะตั
วที่
โดดเด่
นเป็
นเอกลั
กษณ์
แม้
ว่
าวั
ฒนธรรมอั
นเป็
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตร่
วมของกลุ
่
มชนเป็
นภาพเคลื่
อนไหวที่
มี
ความส�
ำคั
ญยิ่
ง แต่
การพั
ฒนาสั
งคมหรื
อ
ชุ
มชนกลั
บไปมุ่
งที่
การแก้
ไขปั
ญหาความยากจนเพี
ยงเพื่
อสกั
ดกั้
นปั
ญหาอุ
ปสรรคต่
อ
การพั
ฒนาการเติ
บโตทางด้
านธุ
รกิ
จอุ
ตสาหกรรมมากกว่
าอย่
างอื่
น ภาวะของสั
งคม
ที่มีปัญหารุมล้อมเช่นนี้ จึงมีค�
ำถามว่าในเมื่อวัฒนธรรมเป็นทุนที่ส�
ำคัญของสังคม
ท�
ำไมจึ
งไม่
ใช้
วั
ฒนธรรมเป็
นเครื่
องมื
อเพื่
อแก้
ปั
ญหา แต่
ประเด็
นปั
ญหายั
งอยู่
ตรง