Previous Page  234 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 234 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

233

บทที่ 5

พลังความคิดและภูมิปัญญา

กาญจนา เงารั

งสี

, ชูพิ

นิ

จ เกษมณี

หทั

ยชนก อินทรก�

ำแหง

5.1 บทน�ำ

พลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญาเป็

นประเด็

นส�

ำคั

ญในการวิ

จั

ยทางวั

ฒนธรรมใน

ภาคเหนื

อ ในบทนี้

จึ

งพยายามจะศึ

กษาและประมวลข้

อมูลผลงานวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมเพื่

สั

งเคราะห์และประเมิ

นองค์ความรู้เกี่

ยวกั

บประเด็

นดั

งกล่าวในช่วงประมาณ 10 ปี

ที่

ผ่านมา (นั

บย้อนหลั

งจากปี 2547) ในระยะที่

1 เป็นการรวบรวมเอกสารประเภท

ต่

างๆ เพื่

อจั

ดท�

ำเป็

นบรรณานุ

กรมและบรรณนิ

ทั

ศน์

ของงานวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บพลั

ความคิดและภูมิปัญญา โดยใช้วิธีการวิจัยจากการทบทวนเอกสารประเภทต่

างๆ

(Documentary Review) ส่

วนระยะที่

2 เป็

นการน�

ำข้

อมูลที่

ได้

จั

ดท�

ำบรรณนิ

ทั

ศน์

ทั้

งหมดนี้

มาวิ

เคราะห์

เพื่

อประเมิ

นองค์

ความรู้

เกี่

ยวกั

บพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญา

ในภาคเหนื

อ อั

นเกิ

ดจากผลงานศึ

กษาวิ

จั

ยในรอบ 10 ปีดั

งกล่าว

จากการส�

ำรวจเอกสารประเภทต่างๆ ที่

เกี่

ยวข้องกับการศึ

กษาและการวิ

จั

ในประเด็นที่เกี่ยวกับพลังความคิดและภูมิปัญญาในระหว่างปี 2535 – 2547 นั้

ครอบคลุมพื้นที่ศึกษา 17 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน

ล�

ำพูน ล�

ำปาง แม่ฮ่องสอน อุ

ตรดิ

ตถ์ พิ

ษณุ

โลก ตาก พิ

จิ

ตร สุ

โขทั

ย เพชรบูรณ์