Previous Page  215 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 215 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๒๐๑

๓. เพลงรองเลน

เพลงรองเลน คือ เพลงที่เด็กใชรองเลนเพื่อความสนุกเพลิดเพลิน อาจเปนเพลงรองธรรมดาหรือ

เพลงลอเลียน เพลงรองเลนเปนเพลงสั้น ๆ เลนคําคลองจองและเลนเสียงสูงตํ่า เนื้อหาของเพลงนํามาจากสิ่งรอบ ๆ ตัวเด็ก

เรื่องธรรมชาติ ครอบครัว เพื่อนฝูง บางวรรคมีความหมาย บางวรรคไมมีความหมาย เพราะมุงกระทุงเสียงใหนาสนใจเทานั้น เชน

ผมเปยมาเลียใบตอง

พระตีกลองตะลุมตุมมง

ผมจุกคลุกนํ้าปลา

แมวกินปลาหมากัดกระพุงกน

(สุกัญญา ภัทราชัย ๒๕๓๓ : ๓๕๒ )

๔. เพลงประกอบการละเลนของเด็ก

เพลงประกอบการละเลนของเด็กคือเพลงที่เด็กใชรองประกอบการเลน

อาจรองเดี่ยว รองกลุมหรือสลับกันรองก็ได บางทีมีการตบมือใหจังหวะหรือทําทาทางประกอบ ตัวอยางเพลงประกอบ

การละเลนของเด็ก เชน เพลงแมงมุม

แมงมุมเอย ขยุมหลังคา แมวกินปลา หมากัดกระโพงกน..

เพลงประกอบการละเลนของเด็กนี้ นอกจากจะมีคุณคาในดานการสรางความสนุกสนานแลว ยังมีคุณคา

ในดานอื่นๆดวย ไดแก การใหความรูเกี่ยวกับธรรมชาติศึกษา การสะทอนคานิยมของสังคมการใหประโยชนในการอบรมสั่งสอน

การฝกหรือเตรียมความพรอมทางรางกาย และการปลูกฝงใหเกิดความสามัคคีและมีความคิดสรางสรรค เปนตน

๕. เพลงปฏิพากย เ

พลงปฏิพากย หรือเพลงโตตอบของชายและหญิง คือ เพลงที่ใชรองโตตอบกันในเชิงเกี้ยวพาราสี

มีจุดเดนอยูที่ปฏิภาณและการใชโวหารชิงไหวชิงพริบ ประลองฝปากและภูมิรู ภาคกลาง มีเพลงชนิดนี้อยูเกือบหาสิบชนิด

เชน เพลงปรบไก เพลงเทพทอง เพลงเรือ เพลงอีแซว เพลงฉอย ลําตัด เพลงเกี่ยวขาว ฯลฯ เพลงปฏิพากยแบงตามลักษณะ

ของเนื้อเพลงได ๒ ประเภท ไดแก เพลงปฏิพากยสั้นและเพลงปฏิพากยยาว

๕.๑ เพลงปฏิพากยสั้น

เชน เพลงพิษฐาน เพลงสงฟาง เพลงชักกระดาน เพลงยั่ว และเพลงเหยย เปนเพลง

ที่มีเนื้อรองสั้น ๆ เหมาะสําหรับผูที่ไมใชพอเพลงแมเพลงอาชีพ เวลารองก็จะผลัดกันรองคนละทอนสั้น ๆ สวนใหญจะเกี้ยว

และแกกันไปมา รูปแบบการรองการเลนจึงไมจําเปนตองมีพิธีรีตอง ลอมวงก็เลนได ไมตองแตงบทรองเปนเรื่องหรือฝกหัด

มาโดยเฉพาะ

๕.๒ เพลงปฏิพากยยาว

เชน เพลงเรือ เพลงฉอย เพลงอีแซว และลําตัด เปนเพลงที่มี ความยาวหลายบท

ในการรองโตตอบแตละครั้ง เมื่อฝายหนึ่งรองจบอีกฝายหนึ่งก็จะรองแกเปนทอน ๆ ไป ไมจํากัดความยาว ผูรองสวนใหญ

จะตองมีปฏิภาณไหวพริบ มีความจําดีและมักจะไดรับการฝกหัดมาโดยเฉพาะ

๖. เพลงรองรําพัน

เพลงรองรําพันคือเพลงรองเดี่ยวเพื่อพรรณนาอารมณความรูสึกสวนตัว หรือพรรณนาสิ่งที่

พบเห็นเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจรองธรรมดาหรือมีเครื่องดนตรีประกอบก็ได ขอสําคัญอยูที่ผูรองซึ่งจะรองคนเดียว

เพลงประเภทนี้รองไดทุกโอกาสไมเจาะจง เทศกาล ไดแก เพลงพาดควาย ซึ่งเด็กเลี้ยงควายรองเลนในยามเย็น เพลงขอทาน

ซึ่งวนิพกรองคลอกับกรับ ฉิ่งหรือโทน เปนตน

๗. เพลงประกอบการละเลนของผูใหญ

เพลงประกอบการละเลนของผูใหญหมายถึงเพลงที่ใชประกอบการละเลน

ของชาวบานทั้งชายและหญิงในยามวางหรือเทศกาลตาง ๆ ไดแก การละเลนเกี่ยวเนื่องกับ

พิธีกรรมเขาทรง

นิยมเลน

ตอนกลางคืนซึ่งมีปรากฏทุกภาค เชน เขาทรงแมศรี ลิงลม นางดง นางสาก นางสุม ฯลฯ การละเลนกลุมนี้มีลักษณะ

กึ่งการละเลนกึ่งพิธีกรรม เพราะเปนการเชิญผีชนิดตาง ๆ ใหมาเขามาสิงราง ผูเลนที่เปนคนทรง โดยรองเชิญผี เมื่อผีเขาแลว

คนทรงจะทําทาทางตาง ๆ เชน วิ่งไลชนคน (นางควาย นางชาง) วิ่งไลคน (ลิงลม) ฟอนรํา (แมศรี นางปลา)

การละเลนที่ไมเกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรม

เปนการละเลนเอาสนุกไมเนนแพชนะนิยมเลนตอนบาย ไดแก การละเลนลูกชวง

ตี่จับ สะบา ชักเยอ มอญซอนผา คลองชางและไกวชิงชา เปนตน การละเลนประเภทนี้ฝายใดเปนฝายแพจะตองถูกปรับให

รําโดยใชเพลงระบํา เพลงพวงมาลัย (สั้น) สําหรับการเลนลูกชวง ตี่จับ สะบา ชักเยอ มอญซอนผา เปนตน