Previous Page  212 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 212 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๑๙๘

เพลงพื้นบาน ( Folk Songs )

เพลงพื้นบานเปนวรรณกรรมมุขปาฐะที่สืบทอดมาหลายชั่วอายุคน เปนสมบัติของกลุมชนซึ่งยอมรับและถายทอด

กันอยางแพรหลาย เปนงานสรางสรรคที่เกิดจากความรูสึกนึกคิดของชาวบานจึงมีความสัมพันธกับวิถีชีวิต ความเปนอยู

สังคมและวัฒนธรรมของทองถิ่น และเปนสื่อที่ถายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ ที่เกิดขึ้นในสังคมทุกระดับชั้น ตั้งแต

ระดับหมูบานจนถึงระดับชาติ

ความหมายของเพลงพื้นบาน

เพลงพื้นบาน หมายถึง เพลงที่กลุมชนในทองถิ่นตาง ๆ ประดิษฐเนื้อหา ทวงทํานองและลีลาการรองการเลน

เปนแบบแผนตามความนิยมและสภาพแวดลอมของทองถิ่นนั้นๆ เพื่อใชรองเลนในโอกาสตาง ๆ ไดแก งานเทศกาลหรือ

ประเพณี เชน สงกรานต อุปสมบท ทอดกฐินและลอยกระทง การทํางานหรือประกอบอาชีพ เชน การลงแขกเอาแรงกัน

ปลูกบาน เกี่ยวขาว นวดขาว เปนตน

ลักษณะเดนของเพลงพื้นบาน

เพลงพื้นบานแตเดิมนั้นจัดเปนงานของชาวบานซึ่งสงทอดมาจากปากตอปาก อาศัยการฟง และการจดจํา ไมมีการ

จดบันทึกเปนลายลักษณอักษร ไมมีกําเนิดแนนอน สืบทอดกันมาโดยไมทราบวาผูใดเปนผูแตงหรือผูรองคนแรก เพลงพื้นบาน

จึงเปนเพลงของกลุมชนที่ทุกคนในสังคมมีสวนเปนเจาของ อยางไรก็ตามเพลงพื้นบานโดยทั่วไปมีลักษณะเดนดังตอไปนี้

๑. เพลงพื้นบานมีความเรียบงาย

ลักษณะเดนประการหนึ่งของเพลงพื้นบานคือความเรียบงาย ทั้งในดานถอยคํา

ลักษณะคําประพันธและรูปแบบการรองการเลน กลาวคือ

๑.๑ ดานถอยคํา

เนื้อรองเพลงพื้นบานจะประกอบดวยถอยคํางาย ๆ ตรงไปตรงมา เปนภาษาที่พูดกันในทองถิ่น

แมจะมีการเปรียบเทียบก็จะใชสํานวนโวหาร ที่เขาใจงาย ดังตัวอยางเพลงฉอยตอไปนี้

ไอเรื่องผัวนองไมอยากจะมี

สําหรับกวนจี้กวนใจ

มันไมหิวเหมือนหมากอยากเหมือนขาว

แมจะสูอดเอาเสียก็ได

เมื่อนองจะมีผัวนองก็เอา

ใครจะเปนเจาแลวหัวใจ

( คลาย แสงสี ,สัมภาษณ)

๑.๒ ดานลักษณะคําประพันธ

เพลงพื้นบานเปนรอยกรองที่เกิดจากการจัดวางจังหวะของคําและสัมผัสคลองจอง

โดยไมเครงครัดมาก เชน เพลงกลอมเด็กและเพลงสําหรับเด็กมีคําประพันธเปนรอยกรองงาย ๆ ตัวอยางเชน เพลงเจาเนื้อเย็น

เจาเนื้อเย็น

แมมิใหไปเลนที่หาดทราย

ครั้นวานํ้าขึ้นมา

มันจะพาเจาลอยหาย

แสนเสียดาย

เจาคนเดียวเอย

สวนเพลงประเภทเพลงปฏิพากยหรือเพลงโตตอบ จะมีลักษณะคําประพันธเปนกลอนหัวเดียว ในหนึ่งบทมีสองวรรค

แตละวรรคประกอบดวยจํานวนคํา ๕-๑๒ คํา สัมผัสระหวางวรรคมีเพียงแหงเดียว และสัมผัสระหวางบทจะลงทาย

ดวยคําที่มีเสียงสระและเสียงพยัญชนะสะกดเสียงเดียวกัน ซึ่งชาวบานจะเรียกชื่อกลอนตามสัมผัสที่ลงทายนั้นๆ เชน

ลอนไล กลอนลา เปนตน ดังแผนผังและตัวอยางตอไปนี้