ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน
Directory of folk ensemble
๑๙๙
นอกจากเพลงพื้นบานภาคกลางจะมีลักษณะคําประพันธเปนกลอนหัวเดียวดังกลาวแลวเพลงพื้นบานบางเพลงอาทิ
เพลงแหล ใชคําประพันธแบบกลอนสุภาพ เปนตน
๑.๓ ดานการรองการเลน
รูปแบบการรองการเลนของเพลงพื้นบานมีความเรียบงาย ดังจะเห็นไดจาก
การรองการรําและองคประกอบอื่นๆ กลาวคือผูรองสามารถรองเพลงพื้นบานไดงายและสะดวก เพราะเพลงพื้นบานสวนใหญ
มักมีทํานองหลักทํานองเดียวและมีจังหวะหยุดที่แนนอน ผูรองจะรองเรื่อย ๆ ตามทํานอง บางครั้งอาจรองซํ้าคําซํ้าวรรค
ซํ้าไปซํ้ามา ซึ่งจะทําใหผูฟงรูสึกสนุกสนานและผูรองไดมีเวลาคิดเนื้อรองวรรคตอไปดวย
การรายรําหรือทําทาทางประกอบการรองเพลงพื้นบานก็มีรูปแบบงาย ๆ ไมเปนแบบแผนเครงครัด ไมตองฝกหัดมาก
อาศัยการจดจําก็รําไดเอง สวนใหญเปนทาที่เลียนแบบกิริยาอาการของมนุษย เชน ทาชี้นิ้ว ทาคอน ทาตี หรือทาพื้นฐานงาย ๆ
เชน ทาไป ทามา ทารัก เพลงพื้นบานบางเพลง เชน เพลงกลอมเด็กและเพลงแหล ไมมีการรําหรือทาทางประกอบ
เนนการรองเทานั้น นอกจากการรองการรําดังกลาวแลว องคประกอบอื่น ๆ ของการรองการเลนเพลงพื้นบานยังแสดงใหเห็นถึง
ความเรียบงาย ไดแก อุปกรณประกอบการเลน เวที เครื่องดนตรี และเครื่องแตงกาย ปจจุบันรูปแบบการเลนเพลงพื้นบาน
บางชนิดเปลี่ยนไปจากการเลนเปนการแสดง เชน เพลงอีแซวหรือลําตัด จัดเปนมหรสพอยางหนึ่งซึ่งมีลักษณะเปนการแสดง
ที่แยกผูรองกับผูฟงจากกัน ผูรองซึ่งฝกหัดมาโดยเฉพาะจะออกมาแสดงใหชม ดังนั้นองคประกอบตาง ๆ ในการรองเพลง
พื้นบานจึงแตกตางไป เชน มีการจัดฉาก เพิ่มแสงสีเสียง เพิ่มดนตรีประกอบ เชน ปพาทย กลองชุดหรือแตรวง ตลอดจน
การแตงกายที่สวยงามมีสีสันฉูดฉาดสะดุดตา แตสวนใหญยังคงรักษารูปแบบเดิม เชน นุงโจงกระเบน เปนตน
๒. เพลงพื้นบานเนนความสนุกสนานเปนหลัก
จุดประสงคของการเลนเพลงพื้นบานก็เพื่อความบันเทิงใจ เนื้อหา
ของเพลงพื้นบานสวนใหญจึงเปนเรื่องของความสุข ความสนุกสนาน ละเวนเรื่องทุกขโศก ไดแก ความรัก การเกี้ยวพาราสี
การเยาแหย การโตคารมชิงไหวชิงพริบของหนุมสาว ซึ่งมักจะเกี่ยวพันกับเรื่องเพศ การกลาวถึงเรื่องเพศในเพลงพื้นบาน
นั้นมีจํานวนมากและทําไดหลากหลายอาจกลาวดวยถอยคําตรงไปตรงมา ซึ่งเรียกวา “กลอนแดง” หรือหลีกเลี่ยงดวยการ
หยุดรองเฉพาะคํานั้น ๆ เวนวรรคไวใหผูฟงเติมเองในใจซึ่งเรียกวา “หักขอรอ” เชน
นองจะนองจาดูหมาใหพี่ดวย
จะปลอยใหหมากัด....พี่ชาย
เพื่อนพี่นี้มันมาซวย
มาโดนหมากัด....จนรองไห
(ชินกร ไกรลาศ ,บรรยาย)
บางครั้งก็ใชการสับเสียงสระและพยัญชนะสะกดของพยางคตนกับพยางคทาย ซึ่งเรียกวา“การผวนคํา” เชน
นั่งเลนลอลอกอนที่หอกระเด็น
ลมพัดเย็นเย็นที่บานหลังใหญ
ไปกินขาวกินปลากินสุราบุหรี่
ยํามะมวงหอยหมีเกรียมไวแกลมใหมใหม
(บัวผัน สุพรรณยศ ๒๕๓๕ : ภาคผนวก)
ดินสีพองแลวแปง
ผง
ยังไมทันฝน
ลง
รัก
ละลาย
นองรักพี่เผื่อเลือกรักเกือกกัน
หนาม
รักคันนากั้น
นํ้า
หรือแมสาวเมือง
ใน
(สมบูรณ สุพรรณยศ , สัมภาษณ)
๒
OOOO
O
OOO
O
OOO
O
OOOOOO
O
OOOO
O
OOOO
O
ดินสีพองแล้วแป้ง
ผง
ยังไม่ทันฝน
ลง
รัก
ละลาย
น้องรักพี่เผื่อเลือกรักเกือกกัน
หนาม
รักคันนากั้น
น ้า
หรือแม่สาวเมือง
ใน
( สมบูรณ์ สุพรรณยศ , สัมภาษณ์ )
นอกจากเพลงพื้นบ้านภ คกลางจะมีลักษณะคาประพันธ์เป็นกลอนหัวเดียวดังกล่าวแล้วเพลง
พื้นบ้านบางเพลงอาทิ เพลงแหล่ ใช้คาประพันธ์แ บกลอนสุภาพ เป็นต้น
๑.๓ ด้านการร้องการเล่น
รูปแบบการร้องการเล่นของเพลงพื้นบ้านมีความเรียบง่าย ดังจะ
เห็นได้จากการร้องการราและองค์ประกอบอื่นๆ กล่าวคือผู้ร้องสามารถร้องเพลงพื้นบ้านได้ง่ายและสะดวก
เพราะเพลงพื้นบ้านส่วนใหญ่มักมีทานองหลักทานองเดียวและมีจังหวะหยุดที่แน่นอน ผู้ร้องจะร้องเรื่อย ๆ
ตามทานอง บางครั้งอาจร้องซ้าคาซ้าวรรค ซ้าไปซ้ามา ซึ่งจะทาให้ผู้ฟังรู้สึกสนุกสนานและผู้ร้องได้มีเวลาคิด
เนื้อร้องวรรคต่อไปด้วย
การร่ายราหรือทาท่าทางประกอบการร้องเพลงพื้นบ้านก็มีรูปแบบง่าย ๆ ไม่เป็นแบบแผนเคร่งครัด
ไม่ต้องฝึกหัดมาก อาศัยการจดจาก็ราได้เอง ส่วนใหญ่เป็นท่าที่เลียนแบบกิริยาอาการของมนุษย์ เช่น ท่าชี้นิ้ว
ท่าค้อน ท่าตี หรือท่าพื้นฐานง่าย ๆ เช่น ท่าไป ท่ามา ท่ารัก เพลงพื้นบ้านบางเพลง เช่น เพลงกล่อมเด็กและ
เพลงแหล่ ไม่มีการราหรือท่าทางประกอบเน้นการร้องเท่านั้น นอกจากการร้องการราดังกล่าวแล้ว
องค์ประกอบอื่น ๆ ของการร้องการเล่นเพลงพื้นบ้านยังแสดงให้เห็นถึงความเรียบง่าย ได้แก่ อุปกรณ์
ประกอบการเล่น เวที เครื่องดนตรี และเครื่องแต่งกาย ปัจจุบันรูปแบบการเล่นเพลงพื้นบ้านบางชนิดเปลี่ยนไป
จากการเล่นเป็นการแสดง เช่น เพลงอีแซวหรือลาตัด จัดเป็นมหรสพอย่างหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นการแสดงที่
แยกผู้ร้องกับผู้ฟังจากกัน ผู้ร้องซึ่งฝึกหัดมาโดยเฉพาะจะออกมาแสดงให้ชม ดังนั้นองค์ประกอบต่าง ๆ ในการ
ร้องเพลงพื้นบ้านจึงแตกต่างไป เช่น มีการจัดฉาก เพิ่มแสงสีเสียง เพิ่มดนตรีประกอบ เช่น ปี่พาทย์ กลองชุด
หรือแตรวง ตลอดจนการแต่งกายที่สวยงามมีสีสันฉูดฉาดสะดุดตา แต่ส่วนใหญ่ยังคงรักษารูปแบบเดิม เช่น
นุ่งโจงกระเบน เป็นต้น
๒. เพลงพื้นบ้านเน้นคว มสนุกสนานเป็นหลัก
ุด ระสงค์ของ ารเล่นเพลงพื้นบ้านก็เพื่อความ
บันเทิงใจ เนื้อหาของเ ลงพื้นบ้านส่วนใหญ่จึงเป็นเรื่องของความสุข ความสุ กสนาน ละเว้นเรื่องทุกข์โศก
ได้แก่ ความรัก การเกี้ยวพาราสี การเย้าแหย่ การโต้คารมชิงไหวิ งพิ บของหนุ่มสาว ซึ่งมักจะเกี่ยวพันกับ
เรื่องเพศ กา กล่าวถึงเรื่องเพศในเพ งื้ นบ้า นั้นมีจานวนม กและทาได้หลากหลายอาจ ล่าวด้วยถ้อย า
ตรงไปตรงมา ซึ่งเรียกว่า “กลอนแดง” หื อหลีกเลี่ยงด้วยการหยุดร้องเฉพาะคาั้ น ๆ เว้นวรรคไว้ให้ผู้ฟังเติม
เองในใจซึ่งเรียกว่า “หักข้อรอ” เช่น
น้องจ๊ะน้องจ๋าดูหมาให้พี่ด้วย จะปล่อยให้หมากัด....พี่ชาย
เพื่อนพี่นี้มันมาซวย
มาโดนหมากัด....จนร้องไห้ (ชินกร ไกรลาศ ,บรรยาย)
บางครั้งก็ใช้การสับเสียงสระและพยัญชนะสะกดของพยางค์ต้นกับพยางค์ท้าย ซึ่งเรียกว่า“การผวนคา” เช่น