Page 52 - ถอดบทเรียน
P. 52

ผู้รับสารที่มีระดับการรู้เท่าทันสื่อมาก จะต้องเปน

              ผู้รับสารที่มีลักษณะเฉพาะบุคคลแบบ High degree
              of media literacy กล่าวคือ เป็นผู้รับสารที่มีระดับของ
              การควบคุม (Control) และระดับของการมีสติ (Consciousness)

              อยู่ในระดับสูงมีความตระหนักรู้ (Awareness) ในขณะที่เปิดรับสื่อ
              โดยทราบว่าตนเองมี เปาหมายอะไรในการเปิดรับสื่อ เช่น ต้องการ
              ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ  ต้องการข้อมูลเพื่อความรู้
              ต้องการติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ทางการเมือง

              ต้องการความบันเทิง เป็นต้น


                    ๓.  เครื่องมือของการประมวลข้อมูลข่าวสาร
              (Information processing tools) คือ ความสามารถและ

              ทักษะต่าง ๆ ที่บุคคลต้องใช้เพื่อประมวลผลข้อมูล เป็นองค์ประกอบ
              ที่สามของการพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อประกอบด้วย ๗ ทักษะ
              ได้แก่ การวิเคราะห์ (Analysis) ประเมิน (Evaluation) จัดกลุ่ม
              (Grouping)  คิดแบบอุปนัย  (Induction)  คิดแบบอนุมาน

              (Deduction) สังเคราะห์ (Synthesis) สรุปใจความสำาคัญ
              (Abstracting) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์และประเมินเนื้อหา
              และคุณค่าของสื่อใน  ๔  มิติ  คือ  ด้านการรับรู้  ด้านอารมณ์
              ความรู้สึก ด้านความไพเราะหรือความสุนทรียะ และด้านศีลธรรม

              โดยความสามารถของแต่ละบุคคลในแต่ละมิติอาจจะไม่เท่ากัน
              และไม่ขึ้นต่อกัน




         50        ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประจําป  พ.ศ. ๒๕๖๒  ๐๑
                       หลักสูตรผู้บริหารเครือข่ายวัฒนธรรมและหลักสูตรผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรม
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57