Page 26 - ถอดบทเรียน
P. 26
๒. มิติของการใช้สมองเพื่อการเรียนรู้ ประกอบด้วย
๒.๑ ขั้นการจำา (Remembering) เช่น การจำาได้ (Recognizing)
การระลึกได้ (Recalling)
๒.๒ ขั้นความเข้าใจ (Understanding) เช่น การตีความ (Interpreting)
การยกตัวอย่าง (Exemplifying) การจัดประเภท (Classifying) การสรุปความ
(Summarizing) การอ้างพาดพิง (Inferring) การเปรียบเทียบ (Comparing)
การอธิบาย (Explaining)
๒.๓ ขั้นการปรับใช้ (Applying) เช่น การลงมือกระทำาตามขั้นตอน
(Executing) การประยุกต์ (Implementing)
๒.๔ ขั้นการวิเคราะห์ (Analyzing) เช่น การชี้ระบุลักษณะสำาคัญ
(Differentiating) การชี้ระบุระบบความสัมพันธ์ (Organizing) การชี้ระบุคุณสมบัติ
ภายใน (Attributing)
๒.๕ ขั้นการประเมิน (Evaluating) เช่น การตรวจสอบ (Checking)
การลงข้อตัดสิน (Critiquing)
๒.๖ ขั้นการสร้างสรรค์ (Creating) เช่น การจัดกระทำาใหม่
(Generating) การวางแผน (Planning) การสร้างและพัฒนา (Producing)
24 ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประจําป พ.ศ. ๒๕๖๒ ๐๑
หลักสูตรผู้บริหารเครือข่ายวัฒนธรรมและหลักสูตรผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรม