Page 23 - ถอดบทเรียน
P. 23

ต่อมาในระหว่างป ค.ศ. ๑๙๙๖-๒๐๐๑ ได้มีการปรับปรุงแนวคิด
              ของบลูมใหม่ โดยนักวิชาการหลายสาขาและลูกศิษย์ของบลูมที่พบ
              จุดอ่อนว่า แนวคิดเดิมอาจจะไม่ทันสมัยและสอดคล้องกับการศึกษาและ
              นำาไปใช้ในกระแสและบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป โดยแนวคิดเดิมมุ่งสนใจ

              แบ่งพฤติกรรมการใช้สมองเพื่อการเรียนรู้ในด้านพุทธิพิสัยจากการเรียน
              รู้ขั้นพื้นฐานไปสู่ขั้นเรียนรู้ที่ซับซ้อนขึ้นไปตามลำาดับออกเป็น ๖ ลำาดับ
              ขั้น คือ ความรู้-ความจำา (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension)
              การนำาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์

              (Synthesis) และการประเมินค่า (Evaluation) เสนอเป็นแนวคิดใหม่
              ในการเรียนรู้ทางด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียนออกเป็น ๒ มิติหลักที่ประสาน
              และบูรณาการร่วมกัน (พิศิษฐ ตัณฑวณิช, ๒๕๕๘ : ๑๕-๒๔) คือ มิติของ
              โครงสร้างความรู้ และมิติของการใช้สมองเพื่อการเรียนรู้



















                                                                           ๐๑
              ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประจําป  พ.ศ. ๒๕๖๒  21
                   หลักสูตรผู้บริหารเครือข่ายวัฒนธรรมและหลักสูตรผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรม
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28