Page 24 - ถอดบทเรียน
P. 24
๑. มิติของโครงสร้างความรู้ ประกอบด้วย
๑.๑ ความรู้ที่เปนข้อเท็จจริง (Factual knowledge) เช่น ความรู้
เกี่ยวกับคำาศัพท์เฉพาะ (Knowledge of terminology) ความรู้เกี่ยวกับเทคนิค
รายละเอียดเฉพาะเรื่อง (Knowledge of specific details and elements)
๑.๒ ความรู้ที่เปนมโนทัศน์ (Conceptual knowledge) เช่น ความรู้
ในการแบ่งแยกจัดกลุ่มจัดประเภท (Knowledge of classifications and
categories) ความรู้ในหลักการร่วมและสรุปทั่วไป (Knowledge of principles
and generalizations) ความรู้ในด้านทฤษฎี โมเดล และโครงสร้าง (Knowledge
of theories, models, and structures)
๑.๓ ความรู้ที่เปนกระบวนการขั้นตอน (Procedural knowledge)
เช่น ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคดำาเนินการ หรือโครงแบบขั้นตอนในการดำาเนินการ
เรื่องใด ๆ (Knowledge of subject-specifics skills and algorithms)
ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการดำาเนินการใด ๆ เฉพาะเรื่องหนึ่ง ๆ (Knowledge of
subject-specific technique and methods) ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์การดำาเนิน
กิจกรรมใด ๆ เฉพาะเรื่อง (Knowledge of criteria for determining when to
use appropriate procedures)
๑.๔ ความรู้ในส่วนของการหยั่งรู้ถึงวิธีคิดของตนเอง
(Metacognitive knowledge) เช่น ความรู้เกี่ยวกับกลวิธีของสมอง
ในการเรียนรู้ การคิด และการแก้ปญหา (Strategic knowledge) ความรู้เกี่ยวกับ
ภารกิจ วิธีคิดของสมองภายใต้ภาวะแวดล้อมและเงื่อนไขที่ต่างกัน (Knowledge
about cognitive tasks, including appropriate contextual and
Condition knowledge) ความรู้เกี่ยวกับสมรรถภาพทางการคิดของแต่ละบุคคล
(Self knowledge)
22 ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประจําป พ.ศ. ๒๕๖๒ ๐๑
หลักสูตรผู้บริหารเครือข่ายวัฒนธรรมและหลักสูตรผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรม