Page 303 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 303

299




                                                              ๘๖. ต้นอบเชย ระนอง


                                                                      ต้นอบเชย จังหวัดระนอง มีอำยุ ๑๐๐ ปี เส้นรอบวง ๓.๔๐ เมตร สูง ๔๕ เมตร เป็นไม้ที่เกิดขึ้นเอง
                                                              ตำมธรรมชำติ อยู่ในบริเวณสวนรุกขชำติรักษะวำริน ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้มีนำยทุนพยำยำมจะเข้ำมำ
                                                              ท�ำกำรสัมปทำนป่ำไม้ในบริเวณนี้ แต่ด้วยบำรมีของพระครูปลัดเสนอ สิริปญฺโญ เจ้ำอำวำสวัดตโปทำรำม
                                                              ในสมัยนั้น ท่ำนต้องกำรอนุรักษ์ผืนป่ำแห่งนี้ไว้ จึงได้ประกอบพิธีบวชป่ำ บวชต้นไม้ใหญ่ที่ขึ้นบริเวณนี้ทั้งหมด
                                                              จึงท�ำให้ต้นอบเชยและพรรณไม้อื่นรอดพ้นจำกกำรตัดเอำไปแปรรูป ต่อมำคณะสงฆ์ในจังหวัดระนองและ
                                                              ชำวบ้ำนได้ร่วมกันสร้ำงพระสังกัจจำยน์ขึ้นบนเขำแห่งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันผืนป่ำไม่ให้คนมำบุกรุก
                                                              ท�ำลำยต้นไม้ นอกจำกนี้สถำนที่แห่งนี้เคยเป็นที่ประทับชั่วครำวของสมเด็จพระศรีนครินทรำบรมรำชชนนี
                                                              เมื่อครั้งเสด็จจังหวัดระนอง เมื่อวันที่ ๔ มีนำคม ๒๕๑๐ และได้พระรำชทำนนำมว่ำ “สวนรุกขชำติรักษะวำริน”
                                                              ต่อมำในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ โดยด�ำริของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดระนอง ได้เสนอแนวทำงให้ส�ำนักงำนป่ำไม้จังหวัดระนอง
                                                              ปรับปรุงสถำนที่รอบ ๆ บ่อน�้ำร้อนของจังหวัดระนอง ซึ่งเป็นสถำนที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของจังหวัด
                                                              ต่อมำสวนรุกขชำติรักษะวำริน ได้รับคัดเลือกให้เป็นพื้นที่โครงกำรป่ำในเมืองสวนป่ำประชำรัฐเพื่อควำมสุข
                                                              ของคนไทย โดยเปิดโครงกำรเมื่อวันที่ ๔ เมษำยน ๒๕๖๑ และได้เพำะช�ำต้นอบเชยนี้ แจกจ่ำยให้กับประชำชน
                                                              ผู้สนใจน�ำไปปลูก เป็นกำรอนุรักษ์พัฒนำต่อยอดมรดกภูมิปัญญำทำงธรรมชำติและเพื่อประชำสัมพันธ์
                                                              ต้นอบเชยที่เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระรำชทำนประจ�ำจังหวัดระนอง
                                                                      ปัจจุบันอยู่ในควำมดูแลของสวนรุกขชำติรักษะวำริน หมู่ที่ ๒ ต�ำบลหำดส้มแป้น อ�ำเภอเมืองระนอง
                                                              จังหวัดระนอง



                                                              86. Ton Obchoei, Ranong


                                                                      This Obchoei tree in Ranong Province has existed for 100 years. Its
                                                              circumference is 3.40 meters, and its height is 45 meters. The tree grows naturally in
                                                              Raksa Warin Arboretum. In 1956, a capitalist attempted to get a forest concession in
                                                              this area. However, Phra Khru Palad Sanuer Siripanyo, the abbot of Wat Tapotharam
                                                              in that time, wanted to preserve this forest. He performed a forest and tree ordination
             ตลาดเพิ่มทรัพย          Ruangrat Rd             ceremony for all large trees that grew in the area. As a result, the cinnamon trees and
               ผักผลไมสด
   โรงเรียนศรีอรุโณทัย                                        other plants were saved from cutting and processing. Later, the monks in Ranong province
                        ตลาดสดลาง                            and the villagers built the Kaccayana Image on this mountain. The purpose was to
       สมบัติทัวร ระนอง                 บานชิโน
                                                              prevent the forest from being intruded and destroyed. In addition, this place was the
                              ตลาดสดเทศบาลเมืองระนอง          temporary residence of Somdej Phra Srinagarindra Boromarajonani when she came to
  วัดอุปนันทาราม
                                                 วิมลรัตน คารแคร  Ranong Province on March 4, 1967. She gave the name “Raksa Warin Arboretum” to the
          กนกซุปเปอรราดหนา       สวนรุกขชาติรักษะวาริน
                                                              forest. Later in 1968, the governor of Ranong Province proposed the guidelines to Ranong
   รานน้ำเตาหู  ธ.ไทยพาณิชย                               Provincial Forest Office to improve the landscape around the hot spring in Ranong Province
      ซอย 2        สาขาระนอง  ทีเอ็มบีธนชาต                   which is a famous tourist destination. Raksa Warin Arboretum was selected as an area for
                             สาขาระนอง (ถนนทาเมือง)
        Tha Mung Road  ทีเอ็มบีธนชาต  Thamuang Rd  ดอกไมน้ำเตาหู  ผัดไทยตาศักดิ์  Urban Forest Project. The project was launched on April 4, 2018. This Obchoei tree was
                                            Thamuang Rd
               สาขาระนอง
                                        ปาทองโก   ฤดูกาแฟ   cultivated and distributed to people who were interested in planting. This is the conservation
                                                              and development natural wisdom and is the promotion of a cinnamon tree which is an
     นลิน เพลส                รานโรตีบังหนุย                auspicious plant bestowed upon Ranong Province.
               ราน. เอ็น.ที.คอมพิวเตอร
                   แอนด ซัพพลาย                                      Currently, the tree is under the responsibility of Raksa Warin Arboretum, Moo 2,
                                                  สำนักงานที่ดิน  Hat Som Paen Subdistrict, Mueang Ranong District, Ranong Province.
                                                  จังหวัดระนอง
          ถนนทาเมืองซอย 9
                       พิกัดภูมิศาสตร์ 9.9586976,98.6321692                                                                                299
   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308