Page 300 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 300

296


            ต้นอบเชย





            ชื่อสามัญ        Cinnamon, Cassia
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Cinnamomum iners Reinw. Ex Blume
            ชื่อวงศ์         LAURACEAE
            ชื่อเรียกอื่น    บอกคอก (ล�ำปำง), พญำปรำบ (นครรำชสีมำ), กระดังงำ (กำญจนบุรี), สะวง (ปรำจีนบุรี), ฝักดำบ (พิษณุโลก),
                             กระแจะโมง กะเชียด กะทังนั้น (ยะลำ), มหำปรำบตัวผู้ อบเชย อบเชยต้น (ภำคกลำง), เขียด เคียด เฉียด
                             ชะนุต้น (ภำคใต้), ดิ๊กซี่สอ กัวเล่ะบิ๊ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), กะพังหัน โกเล่ เนอม้ำ (กะเหรี่ยง-กำญจนบุรี),
                             เสี้ยง (ม้ง), ม้ำสำมเอ็น (คนเมือง), เชียด



            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
                     อบเชยชนิดนี้จะพบได้ในป่ำเขำที่ยังอุดมสมบูรณ์หรือป่ำดงดิบทั่วไปในประเทศไทย จัดเป็นไม้ยืนต้นขนำดกลำงถึงขนำดใหญ่
            มีควำมสูงของต้นประมำณ ๑๕ - ๒๐ เมตร ทรงพุ่มกลมหรือเป็นรูปเจดีย์ต�่ำ ๆ ทึบ เปลือกต้นค่อนข้ำงเรียบเกลี้ยงเป็นสีน�้ำตำลอมเทำ
            เปลือกและใบมีกลิ่นหอม ใบอบเชยไทย ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ำมหรือเยื้องกันเล็กน้อย ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนำน แผ่นใบหนำ
            เกลี้ยง แข็ง และกรอบ เส้นใบออกจำกโคนมี ๓ เส้น ยำวตลอดจนถึงปลำยใบ ด้ำนล่ำงเป็นครำบขำว ดอกอบเชยไทย ออกดอกเป็นช่อ
            แบบกระจำยที่ปลำยกิ่ง ดอกมีกลิ่นเหม็น ดอกมีขนำดเล็กสีเหลืองอ่อนหรือสีเขียวอ่อน ผลอบเชยไทย ผลมีขนำดเล็ก ลักษณะของผล
            เป็นรูปขอบขนำน ผลแข็ง ตำมผิวผลมีครำบขำว แต่ละผลมีเมล็ดเดียว ฐำนรองรับผลมีลักษณะเป็นรูปถ้วย สรรพคุณ เช่น เปลือกต้นใช้
            ปรุงผสมเป็นยำหอมและยำนัตถุ์ ท�ำให้สดชื่น แก้ปวดศีรษะ แก้อำกำรอ่อนเพลีย ช่วยย่อยสลำยไขมัน ควบคุมระดับไขมันในเลือด และ
            คอเลสเตอรอลชนิดเลว (LDL) ให้มีระดับต�่ำลง ใบอบเชยต้นมีสรรพคุณเป็นยำบ�ำรุงธำตุ และบ�ำรุงก�ำลัง รำกและใบใช้ต้มกับน�้ำรับประทำน
            เป็นยำแก้ไข้เนื่องจำกควำมอักเสบของสตรีที่คลอดบุตรใหม่ ๆ เมล็ดน�ำมำทุบให้แตกผสมกับน�้ำผึ้ง ให้เด็กกินเป็นยำแก้ไอ เป็นต้น


            Ton Obchoei



            Common name  Cinnamon, Cassia
            Scientific name  Cinnamomum iners Reinw. Ex Blume
            Family name      LAURACEAE
            Other names      Bokkok (Lampang), Phayaprab (Nakhon Ratchasima), Kradang-Nga (Kanchanaburi), Sawong (Prachinburi), Fakdap (Phitsanulok),
                             Krajaemong, Kachied, Katangnan (Yala), Mahaprab Tuaphu, Obchoei, Obchuei Ton (Central Thailand), Kied, Chied, Chanu Ton
                             (Southern Thailand), Diksisor, Kualaebi (Karen-Chiang Mai), Kapanghan, Koler, Ner Mah (Karen-Kanchanaburi), Siang (Mong),
                             Mah Sam-en (Thai Native), Chied


            Botanical characteristics
                     This Obchoei tree can be found in fertile hill forests or evergreen forests in Thailand. It is a medium-to-large perennial tree. Its height is
            about 15 - 20 meters. The shrub grows in a low round dense pagoda shape. The bark is smooth and grayish brown. The bark and the leaf are fragrant.
            Thai cinnamon tree has single leaves arranged in opposite or slightly opposite pattern. The leaf is oblong. The leaf blade is thick, smooth, hard, and
            brittle. There are three veins from the base that extend all the way to the leaf tip. The bottom of the leaf has white stain. Thai cinnamon flowers
            grow in inflorescences at the end of the branches. The flower is smelly. The flower is small and light yellow or light green. Thai cinnamon fruit is
            small. The fruit is parallel and hard.  There is white stain on the surface of the fruit. Each fruit has a single seed. The fruit base is in a cup shape. The
            bark can be use as snuff which can refresh the body, relieve headache and fatigue, digest fat, control blood lipid level and reduce bad cholesterol
            (LDL) level. The cinnamon leaf can nourish the body. The water from boiled root and leaves can relieve a fever caused by inflammation in women
            who have given birth to new babies. The pounded seed mixed with honey can relieve coughing in children, etc.

       296
   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305