Page 296 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 296

292



            ต้นกระทิง




            ชื่อสามัญ        Alexandrian laurel, Beach Calophyllum, Borneo mahogany
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Calophyllum inophyllum L.
            ชื่อวงศ์         CALOPHYLLACEAE
            ชื่อเรียกอื่น    กระทึง กำกระทึง กำกะทึง (ภำคกลำง), ทิง (กระบี่), เนำวกำน (น่ำน),
                             สำรภีทะเล (ประจวบคีรีขันธ์), สำรภีแนน (ภำคเหนือ), ชำวมอแกนที่เกำะสุรินทร์
                             เรียกว่ำ “ปอปนกระทิง”



            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     เป็นไม้ยืนต้นขนำดกลำงถึงขนำดใหญ่สูง ๒๐ - ๒๕ เมตร เปลือกเรียบสีเทำอ่อนหรือน�้ำตำลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน�้ำตำลปนแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ
            เรือนยอดเป็นพุ่มกลม สีเขียวเข้ม กิ่งอ่อนเกลี้ยง ยอดอ่อนเรียวเล็ก ปลำยทู่ ออกดอกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบบริเวณปลำยกิ่ง มีดอกย่อย กลีบดอกสีขำว เกสรตัวผู้สีเหลือง
            มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนตุลำคม - ธันวำคม ผลเป็นผลสดทรงกลม ปลำยผลเป็นติ่งแหลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง กำรดูแลรักษำท�ำได้โดยชอบดินร่วนปนทรำยหรือดินทรำย
            ควำมชุ่มชื้นปำนกลำง ขยำยพันธุ์โดยกำรเพำะเมล็ด กระทิงเป็นพืชมีพิษ เมื่อรับประทำนรำก เปลือก และใบเข้ำไปจะมีผลต่อหัวใจ สรรพคุณ ทั้งต้นมีรสเมำและฝำดเล็กน้อย
            ใช้เป็นยำสุขุม มีพิษเล็กน้อย ดอกมีรสหอมเย็น ใช้เป็นยำบ�ำรุงหัวใจ แก้อำกำรกำรเต้นของหัวใจผิดปกติ ใช้ปรุงเป็นยำหอม ใช้เป็นยำชูก�ำลัง ใบมีรสเมำเย็น ช่วยแก้
            อำกำรตำแดง ตำฝ้ำ ตำมัว และใช้ล้ำงตำ โดยใช้ใบต�ำกับน�้ำสะอำดล้ำงตำ น�้ำคั้นจำกใบใช้เป็นยำฝำดสมำนภำยนอก ใช้กับโรคริดสีดวงทวำร ยำงมีฤทธิ์ท�ำให้อำเจียน
            ใช้เป็นยำพอกทรวงอกแก้วัณโรคปอด มีฤทธิ์เป็นยำถ่ำยเป็นยำระบำยอย่ำงรุนแรง ช่วยขับปัสสำวะ เปลือกต้นใช้ต้มเป็นยำขับปัสสำวะในโรคหนองใน



            Ton Krating



            Common name  Alexandrian laurel, Beach Calophyllum, Borneo mahogany
            Scientific name  Calophyllum inophyllum L.
            Family name      CALOPHYLLACEAE
            Other names      Kratueng, Kakratueng, Kakatueng (Central Thailand), Ting (Krabi),
                             Naowakan (Nan), Sarapee Talae (Prachuap Khiri Khan), Sarapee Naen
                             (Northern Thailand). The Moken on Surin Islands calls it as “Porpon Krating”


            Botanical characteristics

                     It is a medium-to-large perennial tree. Its height is 20 - 25 meters tall. The bark is smooth, light gray or yellowish brown. The inner bark is
            pink. The wood is reddish brown. The tree has single leaves, and it does not shed the leaves. The top grows in a round, dark green bushy shape.
            The young shoot is thin and has obtuse tip. The flowers grow in a short inflorescence at the leaf axil. There are small flowers with white petals at
            the end of the branch. The yellow stamens are fragrant. The flowering time is in October - December. The fruit is in an obtuse shape. The end of
            the fruit has a pointed lobe. The fruit turns yellow when ripe. The tree grows well in sandy loam or sandy soil with moderate moisture. The tree
            propagates by seeds. Krating tree is a poisonous plant. When the root, bark and leaf are consumed, it affects the heart. The whole tree is astringent
            and can nourish the body. The flower has cool aroma and can nourish the heart, treat irregular heartbeats, and nourish the body. The leaf has cool
            aroma and can relieve red eyes, blemish eyes and blurred vision. The pounded leaf mixed with water can be used to wash the eyes. The water from
            squeezed leaf can relieve wounds and can treat hemorrhoids. The resin can induce vomiting. It can treat pulmonary tuberculosis. It has a strong
            laxative effect and induce urinating. The boiled bark can induce urinating in gonorrhea patients.

       292
   291   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301