Page 288 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 288

284



            ต้นพอก




            ชื่อสามัญ       -
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Parinari anamensis Hance
            ชื่อวงศ์        CHRYSOBALANACEAE
            ชื่อเรียกอื่น   กระท้อนลอก (ตรำด), จัด จั๊ด (ล�ำปำง), ตะเลำะ (ส่วย-สุรินทร์), ตะโลก (เขมร-สุรินทร์), ท่ำลอก (นครรำชสีมำ, พิษณุโลก, ปรำจีนบุรี), ประดงไฟ ประดงเลือด (รำชบุรี),
                            มะคลอก (สุโขทัย, อุตรดิตถ์), มะพอก (ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ, รำชบุรี), มะมื่อหมักมอก, หมักมื่อ (ภำคเหนือ), หมำกรอก (ประจวบคีรีขันธ์), เหลอะ (ส่วย-สุรินทร์)


            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     เป็นไม้ยืนต้นขนำดกลำง ไม่ผลัดใบ สูงถึง ๓๐ เมตร เปลือกต้นหนำ สีน�้ำตำลเทำ แตกเป็นร่องลึก ลอกหลุดได้ ใบเดี่ยว
            เรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปวงรี ฐำนมน หน้ำใบเขียว ท้องใบเหลือบขำวเด่นชัด และมีขนละเอียดด้ำนล่ำงสีขำวแกมน�้ำตำล ขอบใบเรียบ
            ปลำยใบมนหยักคอดและมีติ่งแหลม เส้นใบข้ำงตรงและขนำนกัน ๑๒ - ๑๕ คู่ เส้นใบนูนด้ำนบน ก้ำนใบยำว มักจะมีต่อมเล็ก ๆ
            ๒ ต่อม ดอกสีขำว ออกเป็นช่อที่ปลำยกิ่ง ก้ำนช่อมีขนสีน�้ำตำลอมส้มหนำแน่น กลีบดอกมี ๕ กลีบ ยำวเท่ำกับกลีบเลี้ยง สีขำวปนเหลือง
            ผลสดกลมรีเหมือนไข่ หรือรูปกระสวย มีสีน�้ำตำล มีเกล็ดสีเทำปกคลุม ผิวฉ�่ำน�้ำเนื้อชุ่มบำง ชั้นในมีขนหนำแน่น เมล็ดเดี่ยวโตแข็ง
            ผลจะแก่ประมำณเดือนมกรำคม - กุมภำพันธ์ เนื้อของผลสุกรอบ ๆ เมล็ด มีรสหวำนหอม รับประทำนได้ เนื้อข้ำงในเมล็ดรับประทำน
            ได้มีรสมันคล้ำยถั่ว เมื่อกะเทำะเปลือกหุ้มเมล็ดจะพบเมล็ดข้ำงในมีปุยสีน�้ำตำลคล้ำยปุยฝ้ำยหุ้มเมล็ดอยู่ กระรอก กระแต ชอบกิน
            เมล็ดใน ออกดอกช่วงเดือนมกรำคม - เมษำยน สรรพคุณ แก่นต้มน�้ำดื่ม และอำบแก้ประดง (อำกำรโรคผิวหนัง เป็นเม็ดขึ้นคล้ำยผด
            คันมำกมักมีไข้ร่วมด้วย) แก้ผื่นคันแดงทั่วตัว ปวดแสบร้อน มีน�้ำเหลืองไหลซึม ใช้แก่นผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน�้ำดื่มแก้หืด เปลือกต้น
            ประคบแก้ ช�้ำใน แก้ปวดบวมเปลือกต้น อุ่นไอน�้ำร้อนประคบแก้ฟกช�้ำ แก่น ต้มน�้ำอำบ รักษำโรคประดง ผดผื่นคัน


            Ton Pok




            Common name -
            Scientific name  Parinari anamensis Hance
            Family name    CHRYSOBALANACEAE
            Other names  Kratonrork (Trat), Jad (Lampang), Ta Lao (Suay-Surin), Talok (Khmer-Surin), Ta Lork (Nakhon
                           Ratchasima, Phitsanulok, Prachinburi), Pradongfai, Pradonglued (Ratchaburi), Ma Klok
                           (Sukhothai, Uttaradit), MaPok (Northeastern Thailand, Ratchaburi), Mameu Mukmork, Mukmeu
                           (Northern Thailand), Makrok (Prachuap Khiri Khan), Loer (Suay-Surin)


            Botanical characteristics
                     It is a medium-sized, non-deciduous tree. It can reach 30 meters tall. The bark is thick and brownish gray. It has deep cracks and can be
            peeled off. The tree has single leaves arranged in alternate pattern. The leaf is ovate or oval. The leaf base is obtuse. The leaf blade is green. The
            bottom of leaf has white color covered with fine white and brown hair. The leaf margin is smooth. The leaf tip is obtuse and mucronulate. The leaf
            has palmately parallel venation with 12 - 15 pairs. It has convex veins on top. The petiole is long and usually has two small glands. The flowers grow
            in inflorescences at the ends of the branches. The peduncle is covered with dense orange, brown hair. The tree has five yellowish white petals. The
            petal has the same length as the sepal. The fruit is in an ovate shape like an egg or is in a bobbin shape. The fruit is brown covered with gray scales.
            The fruit skin is thin and juicy. The inner layer is covered with dense hair. The tree has a hard single seed. The fruit is ripe in January to February. The
            seed is surrounded by the pulp of ripe fruit. It is sweet and edible. The pulp inside the seed is edible and has a nutty taste. When the seed coat
            is cracked, there is brown fluff like cotton covering the seed. Squirrels and tree shrews like to eat the seeds. The flowering time is from January to
            April. The water from boiled heartwood can be drunk and used for bathing to treat skin diseases (It is a rash that looks like a prickly heat and is very
            itchy, often comes with a fever), itchy rash all over the body, burning pains and lymphatic seepage. The heartwood can be mixed with other herbs
            and can be used to relieve asthma. The bark can heal bruises and relieve pains and swellings. Warm bark with hot steam can heal bruises.


       284
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293