Page 240 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 240
236
ต้นงิ้วป่า
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร์ Bombax anceps Pierre
ชื่อวงศ์ MALVACEAE
ชื่อเรียกอื่น เก๊ย (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ไก๊ (กะเหรี่ยง-ภำคเหนือ), ไกร่ (เชียงใหม่),
ง้ำว ง้ำวป่ำ นุ่นป่ำ (ภำคกลำง), งิ้วดอกขำว งิ้วป่ำดอกขำว งิ้วผำ (ภำคเหนือ), งิ้วป่ำ (ภำคใต้, ประจวบคีรีขันธ์)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้นขนำดกลำงหรือใหญ่ ผลัดใบ สูงถึง ๓๐ เมตร ล�ำต้นเปลำตรง มีหนำมทั่วไป ใบเดียวเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตำมปลำยกิ่งช่อหนึ่งมีปลำยใบย่อยแผ่ออกเป็น
วงกลม ๕ - ๗ ใบ แผ่นใบรูปใบหอกหรือรูปไข่ ปลำยแหลม โคนรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ดอกเดียว มีขนำด ๖.๕ - ๘ เซนติเมตร สีขำวครีมแกมม่วง ออกเป็นกลุ่ม ๒ - ๔ ดอก กระจำย
ทั่วเรือนยอดที่ก�ำลังผลัดใบ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง มี ๒ - ๔ พู สีเขียวสด เชื่อมติดกัน เป็นรูปถ้วยบนฐำนดอกที่แข็ง กลีบดอกโค้งงอ ไปด้ำนหลังปิดส่วนของกลีบเลี้ยง
กลีบดอก ๕ กลีบ สีขำว ผล รูปทรงกระบอกยำว หรือรูปกระสวย ขอบขนำน โค้งงอเล็กน้อย มีสันตื้น ๆ ๕ สัน แห้งแล้วแตกตำมรอยตะเข็บ เมล็ดรูปทรงกลมสีด�ำขนำดเล็ก
มีปุยสีขำวห่อหุ้มคล้ำยเมล็ดฝ้ำยพบทั่วไป แต่ชอบขึ้นในป่ำเบญจพรรณที่มีหินปูน ออกดอกช่วงเดือนกุมภำพันธ์ - มีนำคม ผลให้เส้นใยใช้ท�ำหมอนและที่นอน สรรพคุณ
ยำงใช้เป็นยำบ�ำรุงก�ำลัง ช่วยแก้อำกำรท้องร่วง ช่วยแก้ระดูของสตรีมำมำกกว่ำปกติ ช่วยขับน�้ำเหลืองเสีย ส่วนรำกใช้เป็นยำกระตุ้นและยำบ�ำรุงก�ำลัง ใช้ต้มดื่มช่วยขับปัสสำวะ
เปลือกใช้ต้มกับน�้ำดื่มเป็นยำแก้อำกำรร้อนใน รำกและเปลือกมีรสฝำดเย็นมีสรรพคุณท�ำให้อำเจียน เปลือกต้นใช้ผสมกับเปลือกต้นนุ่น ใช้ต้มกับน�้ำดื่ม ช่วยแก้อำกำรเป็นพิษ
ดอกแห้งช่วยแก้พิษไข้ แก้อำกำรคัน ช่วยรักษำแผลไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก
Ton Ngiew Pa
Common name -
Scientific name Bombax anceps Pierre
Family name MALVACEAE
Other names Koey (Karen-Mae Hong Son), Kai (Karen-Northern Thailand), Krai
(Chiang Mai), Ngao, Ngao Pa, Nun Pa (Central Thailand), Ngiew Dok Khao,
Ngiew Pa Dok Khao, Ngiew Pha (Northern Thailand),
Ngiew Pa (Southern Thailand, Prachuap Khiri Khan)
Botanical characteristics
It is a medium- or large-sized deciduous tree. It can reach 30 meters tall. It has straight trunk with spikes. The tree has single leaves arranged
in groups at the ends of the branches. One bunch has 5 - 7 leaflets spreading out into a circle. The leaf blade is lanceolate or oval with acute tip.
The leaf base is cuneate with entire leaf margin. It has solitary flower with the size of 6.5 - 8 centimeters. The flower is white and purple. The flowers
grow in inflorescences with 2 - 4 flowers, scattering around the top. The sepals are connected to form a bell shape. There are 2 - 4 bright green lobes
connected to form a cup shape on the hard peduncle. The petals are bent backward to close the sepals. The tree has five white petals. The fruit is
in a long cylindrical or bobbin shape. The edge is slightly bent. There are five shallow edges. They become dry and crack along the seam. The tree
has small round black seeds covered with white fluffy hair like a cotton seed. Ngiew Pa trees grow in mixed deciduous forests with limestone. The
flowering time is from February to March. The fruit gives fibers that are used to make pillows and mattresses. The resin can treat diarrhea, relieve
menorrhagia, and get rid of lymph waste. The root can energize and nourish the body. The water from boiled root can be used as a diuretic. The
water from boiled bark can relieve ulcer. The root and bark are astringent and can induce vomiting. The water from boiled bark mixed with Kapok
bark can treat poisoning. The dried flower can treat a fever and relieve itching and burns.
236