Page 239 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 239

235




                                                ๗๐. ต้นเสลำ กำญจนบุรี



                                                         บริเวณหน้ำวัดถ�้ำองจุ ซึ่งเป็นสถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ของชำวไทยเชื้อสำยพม่ำ  และชำวไทยเชื้อสำยกะเหรี่ยง
                                                มีต้นเสลำ อำยุประมำณ ๑๐๐ กว่ำปี ยืนต้นอย่ำงสง่ำงำมด้วยขนำดต้น เส้นรอบวง ๕.๕๙ เมตร สูง ๓๕ เมตร เกิดขึ้นเอง
                                                ตำมธรรมชำติ ภำยในวัดถ�้ำองจุประดิษฐำนพระพุทธรูปโบรำณขนำดใหญ่ (หลวงพ่อใหญ่) และประดิษฐำนพระบรมสำรีริกธำตุ
                                                และพระธำตุอรหันตสำวก เชื่อว่ำสร้ำงขึ้นในสมัยอยุธยำจำกควำมศรัทธำของแตะเปียแซ เจ้ำเมืององค์สุดท้ำยที่ให้ฤๅษี ๔ ตน
                                                สร้ำงวัดนี้ขึ้น กระทั่งพม่ำเดินทัพเข้ำโจมตีกรุงศรีอยุธยำจึงกลำยเป็นวัดร้ำงและได้รับกำรบูรณะ เมื่อประมำณ พ.ศ. ๒๕๑๒
                                                นอกจำกนี้ยังมีบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ ชำวบ้ำนจะน�ำน�้ำจำกบ่อแห่งนี้ไปใช้ในพิธีกรรมต่ำง ๆ ของชุมชน มีควำมเชื่อว่ำหำกผู้หญิงไป
                                                สัมผัสน�้ำจะแห้งหำยไปไม่หยดลงมำอีกเลย เมื่อจะเข้ำไปสักกำระสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภำยในถ�้ำต้องส�ำรวมกำยและใจ และห้ำมพูด
                                                ค�ำหยำบคำย ส�ำหรับต้นเสลำนี้สันนิษฐำนว่ำเกิดก่อนกำรสร้ำงวัดถ�้ำองจุ ชำวบ้ำนเชื่อกันว่ำมีเทพเทวดำสิงสถิตอยู่ที่ต้นไม้
                                                จึงเป็นที่เคำรพบูชำของผู้ที่ขึ้นไปเที่ยวชมสักกำระวัด
                                                         ปัจจุบันอยู่ในควำมดูแลของวัดถ�้ำองจุ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลนำสวน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกำญจนบุรี



                                                70. Ton Salao, Kanchanaburi



                                                         There is Salao tree stands prominently in front of Wat Tham Ong-Ju which is a sacred place for
                                                the Thai Burmese and the Thai Karen. This tree has existed for 100 years. Its circumference is 5.59 meters,
                                                and its height is 35 meters. A large ancient Buddha image (Luang Pho Yai), the Buddha’s and the Buddhist
                                                disciples’ relics are enshrined inside Wat Tham Ong-Ju. It is believed that the temple was built in the
                                                Ayutthaya period upon the faith of Tae Pia Sae, the last ruler who asked four hermits to build this temple.
                                                When the Burmese attacked Ayutthaya, the temple became abandoned and was restored in 1969. There is
                                                a holy well where the villagers fetch the water for rituals. There is the belief that if a woman touches the
                                                water, it will dry up and never drop again. People should be well-behaved when worshipping the sacred

                                                                   things in the cave and shall not use rude words. It is assumed that this Salao tree
                                                                   has grown before Wat Tham Ong-Ju was built. The villagers believe that there is a
                                  4041                             guardian angel residing in the tree, so it is worshiped by those who visit the temple.
                                    ถ้ำองจุ                               Currently, the tree is under the responsibility of Wat Tham Ong-Ju, Moo 1,

                                                                   Si Sawat District, Kanchanaburi Province.
                          4041
                                                       ถ้ำองจุ
                           ถ้ำองจุ
                                    วัดถ้ำองจุ
        โรงเรียนวัดองจุ
                           ถ้ำองจุ
                  4041
                           เจดียวัดถ้ำองจุ
                  ถ้ำองจุ






                       พิกัดภูมิศาสตร์ 14.801558,99.087963                                                                                 235
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244