คำ�นำ�
หนั
งสื
อชุ
ดนี้
มี
อยู่
ด้
วยกั
น 4 เล่
ม เกิ
ดจากความพยายามปรั
บปรุ
งผลงานวิ
จั
ย
ใน “โครงการประเมิ
นและสังเคราะห์
สถานภาพองค์
ความรู้
การวิ
จัยวัฒนธรรมใน
ประเทศไทย” ที่
ได้
รั
บการสนั
บสนุ
นจากส�ำนั
กงานคณะกรรมการวั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
(สวช.) หรือ กรมส่งเสริมวัฒนธรรมในปั
จจุบัน ภายใต้ความรั
บผิดชอบของคณะ
อนุ
กรรมการวิ
จั
ยวั
ฒนธรรม ที่
มี
ศ.ดร.อานั
นท์
กาญจนพั
นธุ
์
เป็
นประธาน เพื่
อ
ประมวลรวบรวมและศึ
กษาวิ
เคราะห์
งานวิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรมที่
ผลิ
ตขึ้
นมาในช่
วง
ระหว่าง พ.ศ.2537-2547
จากความพยายามดั
งกล่
าว คณะผู้
วิ
จั
ยได้
ช่
วยกั
นปรั
บปรุ
งและเขี
ยนผลงาน
วิ
จั
ยขึ้
นมาใหม่ ในลั
กษณะเป็นบทความ ตามประเด็
นหลัก 4 ประเด็
น ที่
ได้มาจาก
การแยกแยะออกมาศึ
กษาวิจั
ยในโครงการดังกล่
าว เพื่
อชี้
ให้
เห็
นถึงความสั
มพั
นธ์
เชื่
อมโยงกั
นอย่างซั
บซ้อน ประกอบด้วย
1. พลั
งความคิ
ดและภูมิ
ปัญญา
2. ศิ
ลปและวั
ฒนธรรม
3. ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์
4. วั
ฒนธรรมกั
บการพั
ฒนา
ในการด�
ำเนิ
นงานวิ
จั
ยของโครงการนี้
ได้
แบ่
งกลุ
่
มศึ
กษาแยกออกมาเป็
น
ภูมิ
ภาค รวม 4 ภาคคื
อ ภาคกลาง ภาคเหนื
อ ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ และภาคใต้
ซึ่
งท�
ำให้
การจั
ดพิ
มพ์
ครั้
งนี้
ต้
องแยกหนั
งสื
อออกเป็
น 4 เล่
มตามรายภาคด้
วย
เช่นเดี
ยวกั
น