แม้
โครงการวิ
จั
ยนี้
จะเริ่
มท�ำงานครั้
งแรกตั้
งแต่
ปี
พ.ศ.2547 แต่
ก็
ต้
องอาศั
ย
กระบวนการท�
ำงานและการประสานงานที่
ซั
บซ้
อน และต้
องเผชิ
ญกั
บปั
ญหา
ขลุ
กขลั
กอย่
างมากมาย เพราะเกี่
ยวข้
องกั
บนั
กวิ
ชาการจ�ำนวนมาก ที่
เข้
ามามี
ส่
วนร่
วม
จากแต่ละภูมิภาค จนต้องใช้เวลานานมากจึงส�ำเร็จลุล่วงไปได้ และในท้ายที่สุดก็
สามารถปรั
บปรุ
งผลการวิ
จั
ยนั้
นเพื่
อเขี
ยนเป็
นบทความย่
อยๆ และพิ
มพ์
ออกมาเป็
น
หนั
งสือทั้ง 4 เล่มนี้ ซึ่งน่าจะมีส่วนส�
ำคัญในการกระตุ้นและผลักดันงานวิจัยทาง
วั
ฒนธรรมให้มี
พลั
งทางสติ
ปัญญามากยิ่
งขึ้
น
ในระยะแรกของการวิ
จั
ยจะเน้
นเฉพาะการส�ำรวจและรวบรวมผลงานวิ
จั
ย ทั้
ง
ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วยการประมวลและสร้างเป็นบรรณานุ
กรมขึ้
นมา
พร้
อมกับการปริ
ทั
ศน์
เนื้อหาสรุ
ป เพื่
อให้
เป็
นข้
อมูลพื้นฐานที่ช่
วยชี้
หมุ
ดหมายและ
ทิศทางการวิจัยส�
ำหรับช่วงเวลาดังกล่าว พร้อมทั้งอ�
ำนวยความสะดวกให้กับการ
ค้นคว้าวิ
จั
ยทางวัฒนธรรมในอนาคต
ส่
วนในระยะที่
สองของการวิ
จั
ย นั
กวิ
จั
ยในโครงการจะประเมิ
นและสั
งเคราะห์
สถานภาพความรู้
ของงานวิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรม ตามประเด็
นต่
างๆ ที่
ได้
แยกแยะ
ไว้แล้วข้างต้น โดยให้ความส�
ำคัญกับการวิเคราะห์เนื้อหาความรู้ที่ค้นพบจากการ
วิ
จั
ย ตลอดจนประเมิ
นแนวความคิ
ดและวิ
ธี
วิ
ทยาที่
ใช้
ในการวิ
จั
ย เพื่
อเปิ
ดเวที
ให้
เกิ
ด
การถกเถี
ยง และช่
วยแสวงหาทางเลื
อกใหม่
ๆ ในการพั
ฒนางานวิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรม
ต่อไป
ส�ำหรับการปรั
บปรุ
งผลงานวิจั
ยจากโครงการนี้ เพื่
อเขี
ยนเป็นบทความและ
พิมพ์เป็นหนั
งสือในครั้งนี้ ผู้เขียนบทความแต่ละคนได้เลือกงานวิจัยเพียงบางส่วน
ที่
น่
าสนใจเท่
านั้
นขึ้
นมาประเมิ
นและสั
งเคราะห์
เท่
าที่
จะท�
ำได้
ในวงจ�
ำกั
ด แต่
บาง
บทความก็
ได้
พยายามศึ
กษางานวิ
จั
ยใหม่
ๆ เพิ่
มเติ
มขึ้
นมาจนถึ
งปั
จจุ
บั
น เพื่
อให้
ครอบคลุ
มและเป็
นประโยชน์
มากที่
สุ
ด ต่
อการพั
ฒนางานวิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรมใน
อนาคต