Page 280 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 280

276




            ต้นพลวง




            ชื่อสามัญ        -
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Dipterocarpus tuberculatus Roxb.
            ชื่อวงศ์         DIPTEROCARPACEAE
            ชื่อเรียกอื่น    กุง (ปรำจีนบุรี, อุบลรำชธำนี, อุดรธำนี), เกำะสะแต้ว (ละว้ำ-เชียงใหม่),
                             คลง (เขมร-บุรีรัมย์), คลอง (เขมร), คลุ้ง (ชำวบน-นครรำชสีมำ),
                             ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย), โคล้ง (เขมร-สุรินทร์), ตะล่ำอ่ออำขว่ำ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่),
                             ตึง ตึงขำว (ภำคเหนือ), พลอง (ระยอง, ส่วย-สุรินทร์), ยำงยำงพลวง (ภำคกลำง),
                             ล่ำเทอะ แลเท้ำ (กะเหรี่ยง-ภำคเหนือ), สะเติ่ง (ละว้ำ-เชียงใหม่),
                             สำละออง (กะเหรี่ยง-กำญจนบุรี)


            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     เป็นไม้ต้นขนำดกลำงถึงขนำดใหญ่ สูง ๒๐ - ๓๐ เมตร ทิ้งใบช่วงสั้น ๆ ในฤดูร้อน ล�ำต้นเปลำตรง กิ่งอ่อน
            มีรอยแผลใบเห็นชัด กิ่งแตกแขนงมักคดงอ ใบรูปไข่ ขนำดใหญ่ เนื้อหนำ เกลี้ยงหรือมีขนกระจำยห่ำง ๆ โคนหยัก
            เว้ำเป็นรูปหัวใจ ปลำยสอบ ใบอ่อนสีน�้ำตำลแกมแดง กำบหุ้มยอดอ่อนมีขนสั้น ๆ สีเทำ ดอกสีม่วงแดงถึงชมพู
            ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ ตำมง่ำมใบและปลำยกิ่ง กลีบรองดอกโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย มีสันตำมยำวตื้น ๆ กลีบดอก ๕ กลีบ เรียงเวียนคล้ำยกังหัน ผลรูปกรวย ส่วนโคนรูปกระสวย
            มี ๕ สัน มีปีก ๒ ปีก มีเส้นปีกตำมยำว ๓ เส้น สรรพคุณ น�้ำมันยำงมีรสร้อน เมำขื่น ใช้ห้ำมหนอง และสมำนแผล ใช้ทำแผลเน่ำเปื่อย แผลมีหนอง แผลโรคเรื้อน แก้โรคหนองใน
            น�้ำมันยำงผสมกับเมล็ดกู๋ฉ่ำยหรือกุยช่ำย คั่วให้เกรียม บดให้ละเอียด ใช้อุดฟันแก้ฟันผุ น�้ำมันยำง ๑ ส่วน ผสมกับแอลกอฮอล์ ๒ ส่วน กินเป็นยำขับปัสสำวะ แก้แผลในทำงเดิน
            ปัสสำวะ แก้มุตกิบ (โรคระดูขำว) จิบเป็นยำขับเสมหะ


            Ton Pluang



            Common name  -
            Scientific name  Dipterocarpus tuberculatus Roxb.
            Family name      DIPTEROCARPACEAE
            Other names      Kung (Prachinburi, Ubon Ratchathani, Udon Thani), Koh Sataew (Lava-Chiang Mai), Klong (Khmer-Buriram), Klong (Khmer),
                             Klung (Chao Bon-Nakhon Ratchasima), Kuang (Phitsanulok, Sukhothai), Klong (Khmer-Surin), Tala-Or Ar Kwa (Karen-Chiang Mai),
                             Tueng, Tueng Khao (Northern Thailand), Plong (Rayong, Suay-Surin), Yangyang Pluang (Central Thailand), La Ter,
                             Lae Tao (Karen-Northern Thailand), Sateng (Lava-Chiang Mai), Sala-ong (Karen-Kanchanaburi)


            Botanical characteristics
                     It is a medium-to-large tree with the height of 20 - 30 meters. It sheds the leaves for a short period in the summer. The trunk is straight.
            The young branch has obvious scars. The branch is often bent. The leaf is large and ovate. It is thick, smooth or is slightly covered with hair. The leaf
            base is cordate. The tip leaf is in a cone shape. The young leaf is reddish brown. The young shoot sheath is covered with short gray hair. The flower
            is purple, red, and pink and grows in an inflorescence at the leaf axil and at the end of the branch. The sepals are connected to form a cup shape
            with shallow longitudinal edges. The five petals arrange in a spiral pattern like a windmill. The fruit has a cone shape. The fruit base has a bobbin
            shape with five edges. It has two wings and three longitudinal wing lines. The resin oil is astringent. It is used to prevent pus and heal wounds. It is
            used to apply on inflammatory wounds. It can treat leprosy wounds and gonorrhea. The toasted and finely grinded resin oil mixed with garlic chive
            seeds can relieve tooth decay. A mixture of resin oil (one portion) mixed with alcohol (two portions) can be used as a diuretic. It can relieve wounds
            in the urinary tract, treat leucorrhea, and can be used as an expectorant.


       276
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285