Page 276 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 276

272



            ต้นพฤกษ์




            ชื่อสามัญ        Indian Walnut , Siris
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Albizia lebbeck (L.) Benth.
            ชื่อวงศ์         FABACEAE (LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE)
            ชื่อเรียกอื่น    กรีด (กระบี่), กะซึก (ภำคกลำง, พิจิตร), กำแซ กำไพ แกร๊ะ (สุรำษฎร์ธำนี),
                             ก้ำนฮุ้ง (ชัยภูมิ), ก้ำมปู คะโกชุงรุ้ง (ภำคกลำง), คำงฮุง (มหำสำรคำม, อุดรธำนี), จะเร (เขมร-ปรำจีนบุรี),
                             จ๊ำขำม (ภำคเหนือ), จำมจุรีจำมรี ซึก (กรุงเทพฯ), ตุ๊ด (ตำก), ถ่อนนำ (เลย), ทิตำ (กะเหรี่ยง-กำญจนบุรี),
                             พญำกะบุก (ปรำจีนบุรี), มะขำมโคก มะรุมป่ำ (นครรำชสีมำ)



            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     เป็นไม้ต้นขนำดกลำงถึงขนำดใหญ่ผลัดใบ สูง ๑๐ - ๒๕ เมตร เรือนยอดรูปร่มแผ่กว้ำง เปลือกสีเทำเข้มหรือน�้ำตำลอมเหลือง
            ขรุขระและแตกเป็นร่องตำมยำว เปลือกในสีแสด ใบประกอบรูปขนนกสองชั้นเรียงสลับมีก้ำนแขนงออกตรงข้ำมกัน รูปขอบขนำน
            เบี้ยวหรือรูปรี ปลำยใบมน โคนสอบและเบี้ยว ดอกเล็กสีขำว กลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบกระจุกรูปร่มค่อนข้ำงกลม บริเวณซอกใบ
            และที่ปลำยกิ่ง ผลเป็นฝักรูปขอบขนำน แบนและบำง ปลำยและโคนมน สีน�้ำตำลอ่อนหรือน�้ำตำลแกมเหลือง ผิวเกลี้ยงเป็นมัน
            เมื่อแห้งสีฟำงข้ำว มีเมล็ดแบนรี ๔ - ๑๒ เมล็ด สรรพคุณ ยอดอ่อนและช่อดอกอ่อนรับประทำนได้ รสมัน เมล็ดและเปลือก ให้น�้ำฝำด
            รักษำแผลในปำก ล�ำคอ เหงือกหรือฟันผุ ริดสีดวงทวำรหนัก แก้ท้องร่วง และห้ำมเลือดตกใน ใบ ดับพิษร้อนท�ำให้เย็น เมล็ด รักษำ
            โรคผิวหนัง กลำกเกลื้อน โรคเรื้อน ท�ำยำรักษำเยื่อตำอักเสบ



            Ton Pruek



            Common name  Indian Walnut, Siris
            Scientific name  Albizia lebbeck (L.) Benth.
            Family name      FABACEAE (LEGUMINOSAE–MIMOSOIDEAE)
            Other names      Kred (Krabi), Kasuek (Central Thailand, Phichit), Kasae, Kapai, Krae (Surat Thani), Kan Hung (Chaiyaphum), Kampoo, Kakochungrung
                             (Central Thailand), Kang Hung (Maha Sarakham, Udon Thani), Jarae (Khmer-Prachinburi), Jakham (Northern Thailand), Chamchuri,
                             Chammari, Suek (Bangkok), Tud (Tak), Ton Na (Loei), Tita (Karen-Kanchanaburi), Phaya Kapook (Prachinburi), Makhamkhok, Marumpa
                             (Nakhon Ratchasima)


            Botanical characteristics
                     It is a medium-to-large deciduous tree. Its height is 10 - 25 meters. The top grows in an umbrella bushy shape. The bark is dark gray or
            yellowish-brown. It is rough and has longitudinal cracks. The inner bark is bright orange. The tree has even pinnately compound leaves. The small
            branches arrange in opposite pattern. The leaf margin is in an oblong or oval shape. The tip leaf is obtuse. The leaf base is in a cone or ovate shape.
            The flower is white, small, and fragrant. The flowers grow in inflorescences in a round umbrella shape at the leaf axils and the ends of the branches.
            The fruit is an oblong, flat and thin pod. The tip and stem are obtuse with light brown or yellowish-brown color. The skin is smooth and glossy. The
            fruit has a color of rice straw when it becomes dried. It has 4 - 12 flat seeds. A young shoot and an inflorescence are edible. They have oily flavor.
            The seed and the bark give astringent water that can relieve sores in mouth, throat and gums or treat tooth decay, hemorrhoids, diarrhea, and
            bleeding. The leaf can cool down the body. The seed can treat skin diseases and leprosy and can be used as a drug to treat conjunctivitis.


       272
   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281