Page 171 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 171

167


                                                ๕๐. ต้นบุนนำค อุตรดิตถ์



                                                        ต้นบุนนำค ยืนต้นอยู่ในวัดคุ้งตะเภำ ซึ่งเป็นวัดเก่ำแก่ ๑ ใน ๙ วัดของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีอำยุประมำณ ๒๕๐ ปี เส้นรอบวง
                                                ๓.๖ เมตร ควำมสูงประมำณ ๒๕ - ๓๐ เมตร ทรงพุ่มกว้ำง ๘ - ๑๐ เมตร ได้รับยกย่องจำกผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มจังหวัดมรดกโลก
                                                ทำงวัฒนธรรม จังหวัดสุโขทัยให้เป็น “บุนนำคพญำ” นอกจำกนี้ยังพบว่ำอยู่ในพื้นที่ที่เป็นเส้นทำงเดินทัพของสมเด็จพระเจ้ำตำกสิน
                                                มหำรำชเมื่อครำวยกทัพมำปรำบปรำมชุมนุมเจ้ำพระฝำง ในบริเวณโดยรอบต้นบุนนำคยังพบเศษอิฐและกระเบื้องดินเผำโบรำณ
                                                กระจัดกระจำยอยู่ทั่วไปในระดับชั้นดินอีกด้วย
                                                        ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ก่อนน�้ำท่วมใหญ่เมืองอุตรดิตถ์ ชำวบ้ำนย้ำยหมู่บ้ำนจำกริมน�้ำน่ำนขึ้นมำอยู่บนที่รำบด้ำนบนซึ่งเป็น
                                                ระดับเดียวกับวัด ต้นบุนนำคต้นนี้อยู่บริเวณหัวสะพำนไม้โบรำณที่ทอดข้ำมบุ่งน�้ำน่ำนเก่ำไปยังบ่อน�้ำโบรำณของวัด ชำวบ้ำน
                                                จะเดินทำงมำจำกชุมชนริมน�้ำน่ำน และใช้ต้นบุนนำคนี้เป็นจุดนั่งพักผ่อนพบปะสังสรรค์กัน ก่อนจะไปท�ำบุญในหอฉันและศำลำ
                                                หลังเก่ำ ต่อมำแม่น�้ำน่ำนเปลี่ยนเส้นทำงห่ำงจำกท่ำน�้ำวัดเดิมไปกว่ำ ๑ กิโลเมตร และมีกำรตัดถนนสำยเอเชียในประมำณ
                                                ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ท�ำให้หน้ำวัดกลำยเป็นหลังวัด ต้นบุนนำคหน้ำวัดจึงเปลี่ยนสถำนะมำอยู่หลังวัด พร้อม ๆ กับกำรสิ้นสุดเส้นทำงสัญจร
                                                ทำงน�้ำ และทำงบกโบรำณ อันเป็นเส้นเลียบน�้ำน่ำน บุ่งวังงิ้ว-พระฝำง ที่เคยใช้สัญจรกันมำตั้งแต่สมัยธนบุรี แต่ต้นบุนนำค
                                                ยังยืนต้นเป็นประจักษ์พยำนควำมเก่ำแก่ทรงคุณค่ำของชุมชนและวัดคุ้งตะเภำมำจนทุกวันนี้
                                                        ปัจจุบันอยู่ในควำมดูแลของวัดคุ้งตะเภำ บ้ำนคุ้งตะเภำ หมู่ที่ ๔ ต�ำบลคุ้งตะเภำ อ�ำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์


                                                50. Ton Bunnak, Uttaradit


                                                        Bunnak tree stands in Wat Khung Taphao. This temple is one of the nine ancient temples in
                                                Uttaradit province. This Bunnak tree has existed for 250 years. Its circumference is 3.6 meters and the height
                                                of 25 - 30 meters. The top is 8 - 10 meters wide. It is regarded by experts from the World Cultural Heritage in
                                                Sukhothai Province as “Bunnak Phaya”. It was also found that King Taksin the Great commanded the troops to
                                                conquer Chao Phra Fang through this area. The remains of bricks and ancient clay tiles were also found throughout
                                                the soil layers in the surrounding area of the tree.
                                                        In 1950 before the huge flood in Uttaradit, the villagers moved from the Nan River to the above plain
                                                which was at the same level as the temple. This Bunnak tree stood at the bridgehead of an ancient wooden bridge
                                                that spanned across the old Bung Nam Nan to the ancient well of the temple. The villagers who came from the
                                                Nan riverside community used this Bunnak tree as a place to sit and relax before making merit at the fracture
                                                house and the old pavilion. Later, the Nan River changed its course. The course was one kilometer further from
                                                the original temple pier. Due to the construction of the Asian Highway in 1977, the front of the temple became
                                                the back of the temple. The position of the
                                                tree therefore changed from the front to the
                                                back of the temple. The ancient waterway        หลวงพอใหญ
                                                and land route along the Nan River - Bung     พระสัมพุทธมุนีฯ                   Ban Khung Tapha Rd.
                                                Wang Ngiew - Phra Fang used to travel during                                         AH13
                                                the Thonburi period disappeared. However,                      วัดคุงตะเภา  Pa Sam Ruay
                                                                                                                              Je Ped
                                                this Bunnak tree still stands as a witness to                         เหิน ทำฟน  รานลูกสมตำ
                                                the ancientness and value of the community    Nan River  Sai Jai      กลุมเกษตรกร  ตำรับไทย
                                                and Wat Khung Taphao.                                                ผูเลี้ยงผึ้งบานบอพระ  Krua Ta Lung
                                                        Currently, the tree is under                         โรงเรียนบานคุงตะเภา  11  1213
                                                the responsibility of Wat Khung Taphao,                          หจก.อุตรดิตถอู  หจก.จามรีกาซ
                                                Ban Khung Taphao Moo 4, Khung Taphao                              บางกอกยนต  1213
                                                Subdistrict, Mueang Uttaradit District,
                                                Uttaradit Province.                                     หจก.อัยรดาการเกษตร AH13  รานชายสี่ คุงตะเภา


                                                                                                พิกัดภูมิศาสตร์ 17.653476,100.140174       167
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176