Page 172 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 172
168
ต้นทุเรียน
ชื่อสามัญ Durian
ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio zibethinus L.
ชื่อวงศ์ MALVACEAE
ชื่อเรียกอื่น ดือแย (มำเลเซีย-ภำคใต้), เรียน (ภำคใต้)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ทุเรียน ได้ชื่อว่ำเป็นรำชำของผลไม้ โดยเป็นพืชพื้นเมืองของประเทศบรูไน อินโดนีเซีย
และมำเลเซีย ในประเทศไทยนิยมปลูกกันมำตั้งแต่สมัยอยุธยำ ซึ่งทุเรียนมีกลิ่นเฉพำะตัว โดยมีส่วนผสม
ของสำรระเหย ที่ประกอบไปด้วยเอสเทอร์ คีโตนและสำรประกอบก�ำมะถัน ต�ำรำสมุนไพรไทย
กล่ำวว่ำส่วนต่ำง ๆ ของทุเรียนน�ำมำใช้เป็นยำได้ เช่น ใบมีรสขม เย็นเฝื่อน มีสรรพคุณแก้ไข้ แก้ดีซ่ำน ขับพยำธิ
และท�ำให้หนองแห้ง เนื้อมี รสหวำน ร้อน มีสรรพคุณให้ควำมร้อน แก้โรคผิวหนัง ท�ำให้ฝีแห้งและขับพยำธิ
ส่วนบำงต�ำรำกล่ำวว่ำ ทุเรียนควรปลูกไว้ในบริเวณบ้ำนทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เพรำะค�ำว่ำ “ทุเรียน”
มีเสียงพ้องเกี่ยวกับ “กำรเรียน” จึงหมำยถึง “ควำมเป็นผู้คงแก่วิชำกำรเรียนรู้มำก”
Ton Durian
Common name Durian
Scientific name Durio zibethinus L.
Family name MALVACEAE
Other names Due Yae (Malaysia-Southern Thailand), Rian (Southern Thailand)
Botanical characteristics
Durian is regarded as the King of Fruit. It is a native plant of Brunei Darussalam,
Indonesia, and Malaysia. In Thailand, Durian trees have been planted since the Ayutthaya
period. The fruit has a unique and strong smell from the combination of Ester, Ketone, and
Sulphur compounds. All parts of durian trees can be used in Thai traditional medicine. Its leaf
is bitter and can relieve a fever and jaundice and get rid of parasites. Its pulp is sweet and
can treat skin diseases and get rid of parasites. It is said that durian trees should be planted
in the northeastern area of the house because the word “durian” is synonymous to the word
“studying” which means “to be highly educated”.
168