Previous Page  230 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 230 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๒๑๖

๔. ศิลปะการแสดงพื้นบานของภาคใต

สภาพภูมิประเทศของภาคใตมีอาณาเขตติดตอกับประเทศมาลาเชีย และ

เปนดินแดนที่ติดทะเล มีฝนตกชุก มีทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นที่กอใหเกิดอาชีพตางๆ ของชาวบานและการปรับตัวตอ

สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบอยและรวดเร็วลวนมีผลตอศิลปะการแสดง เกิดการผสมผสานทั้งทางศาสนา วัฒนธรรม วิถีชีวิต

และอารยธรรมจากประเทศเพื่อนบาน ศิลปะการแสดง ในภาคใตจึงมีเอกลักษณเฉพาะถิ่นมีจังหวะที่เรงเรา กระฉับกระเฉง

ผิดจากภาคอื่นๆ และเนนจังหวะมากกวาทวงทํานอง โดยมีลักษณะที่เดนชัดของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีใหจังหวะ

เปนสําคัญ สวนลีลาทารําจะมีความคลองแคลววองไว สนุกสนาน ศิลปะการแสดงของภาคใตมีทั้งแบบพื้นบานเดิม

และแบบประยุกตที่ไดแนวความคิดมาแลวพัฒนาขึ้นเปนรูปแบบใหม หรือรับมาบางสวนแลวแตงเติมเขาไป

ศิลปะการแสดงของภาคใต นับวามีบทบาทในวิถีชีวิตของชาวบาน เชนเดียวกับภาคเหนือ หรือภาคอื่นๆ คือมีบทบาท

ในดานบันเทิงในงานรื่นเริงและในพิธีกรรมของชาวบาน เชน รองเง็ง เปนการแสดงของชาวไทยมุสลิมที่ไดรับความนิยมมาก

เปนการเตนรําระหวางหญิงชาย ในงานมงคล ซัมเปง เปนการรําตามจังหวะเพลง แสดงในงานรื่นเริงตางๆหรืองานตอนรับ

แขกเมือง มะโยง เปนศิลปะการแสดงละครของชาวไทยมุสลิมจาก วังรายา เมืองปตตานีในอดีต ใชผูแสดงสวนใหญเปน

ผูหญิง ยกเวนตัวตลก พระเอกเรียกวาเปาะโยง นางเอกเรียกวามะโยง ตารีกีปส เปนการรําพัด ซึ่งเกิดจากการผสมผสาน

กับการแสดงของมาเลเซียในเพลงชื่อบัวกานา วงดนตรีพื้นบานผสมสากล แสดงไดสองแบบคือชาย–หญิง และหญิงลวน

รอนแร เปนการแสดงที่นํากรรมวิธีรอนแร มาสรางสรรคลีลาทารํา ปาเตะ เปนการแสดงระบําพื้นเมือง ลีลาทารํานํามาจาก

กรรมวิธีการยอมทําลวดลายโสรงปาเตะของไทยมุสลิม ใชผูหญิงแสดงลวน เปนตน

อนเล็บ

ฟ้อนเล็บ

ดนตรีพื้นบ้าน

ฟ้อนเล็บ

ดนตรีพื้นบ้าน

ฟอนเล็บ

ดนตรีพื้นบาน