Previous Page  229 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 229 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๒๑๕

จะแตกตางกับการแสดงของภาคอีสานตอนบน เนื่องจากเปนการรวมกลุมของชนชาติตางๆ เชนพวกไทยลาว ภูไทย ไทยพวน

แสก โซ แตละกลุมมีลักษณะแตกตางตามเชื้อชาติ เผาพันธุ แตศิลปะการแสดงพื้นบานอีสานก็ยังมีบทบาทหนาที่มี

ลักษณะคลายคลึงกัน กลาวคือเปนการแสดงที่เกิดขึ้น เพื่อพิธีกรรมทางศาสนา และความสนุกสนานรื่นเริงในเทศกาลตางๆ

การรายรําจะมีลักษณะเฉพาะของ การเคลื่อนไหวอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย เชน กาวเทา การวาดแขน การยกเทา

การสายมือ การสายสะโพกที่เกิดขึ้นจากทาทางอันเปนธรรมชาติที่ปรากฏอยูในชีวิตประจําวัน แลวนํามาประดิษฐหรือ

ปรุงแตงใหสวยงาม ตามแบบทองถิ่นอีสานเชนทําทาทางลักษณะเเอนตัวแลวโยกตัวไปมา เวลากาวตามจังหวะก็มีการกระแทก

กระทั้นตัว ดีดขา ขยับเอว ขยับไหล เนนความสนุกสนานแสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมของชนพื้นเมืองกับสภาพชีวิตความเปนอยู

การแสดงพื้นเมืองภาคอีสานจะมีทั้งการแสดงที่เปนแบบดั้งเดิมที่มีการสืบทอดกันมา และการแสดง ที่เกิดขึ้นในแตละทองถิ่น

เปนไปตามความถนัดหรือความสามารถของแตละคน โดยไมมีระเบียบแบบแผน เชน กันตรึม เปนการแสดงเพื่อบูชาหรือ

บูชาหรือบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใชในงานพิธีกรรมตางๆ ฟอนภูไท เปนการฟอนเพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเพื่อแสดงความกตัญู

ตอบรรพบุรุษ และฟอนในงานประเพณีตางๆ เซิ้งตังหวาย เปนการแสดงเพื่อถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือในงานพิธีกรรมตางๆ

เซิ้งบั้งไฟ เปนการฟอนในพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และในพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการขอฝน เรือมจับกรับ เปนการแสดงที่ใชผูชาย

ถือกรับออกมารายรําไปตามจังหวะเพลง โดยไมมีแบบแผน หรือทําทาที่แนนอน เปนการรําเพื่อความสนุกสนาน เรือมอันเร

หรือ กระทบไม บางทีก็เรียกวา แสกเตนสาก เปนการแสดงที่ใชไมไผมากระทบกันตามจังหวะเพลง แลวผูรําก็กระโดดขามไม

ดวยทาทางตางๆ มวยโบราณ เปนศิลปะการตอสูที่แสดงถึงความกลาหาญ เขมแข็ง นิยมแสดงในเทศกาลตางๆ

ศิลปะการแสดงพื้นบานในประเทศไทยลวนมีคุณคาความสําคัญตอชุมชน ทองถิ่นจึงนับเปนมรดกภูมิปญญาทาง

วัฒนธรรมตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๔

และประกาศคณะกรรมการสงเสริมและรักษามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เรื่อง การกําหนดลักษณะมรดกภูมิปญญา

ทางวัฒนธรรม พ.ศ.๒๕๖๐ ซึ่งมีความหมายที่กวางครอบคลุมทั้งดนตรีและเพลงรอง รวมถึงนาฏศิลปและการละคร ดังนั้น

ดวยคุณคาความสําคัญของศิลปะการแสดงพื้นบานในประเทศไทย จึงสมควรที่จะผลักดันใหเกิดการสนับสนุนสงเสริมใหมี

การอนุรักษสืบทอดยังอนุชนรุนหลังเพื่อเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติไทยใหยั่งยืนสืบไป

๓. ศิลปะการแสดงพื้นบานของภาคกลาง

ดวยสภาพภูมิประเทศของภาคกลางเปนที่ราบลุม พื้นดินมี

ความอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก เปนอูขาวอูนํ้าของประเทศ ประชากรสวนใหญ จึงประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม

ประชาชนมีวิถีชีวิตความเปนอยูสุขสบาย การแสดงหรือการละเลนที่เกิดขึ้น จึงเปนไป ในลักษณะที่สนุกสนาน หรือ

เปนการรองเกี้ยวพาราสีกัน เปนศิลปะการแสดงที่สื่อใหเห็นการประกอบอาชีพตางๆ เชน เพลงเกี่ยวขาวเปนการแสดงที่แสดง

ใหเห็นถึงกิจกรรมการเก็บเกี่ยวผลผลิต การแสดงระบําชาวนา เปนวิถีชีวิตความเปนมาที่พากันออกมาไถนาหวาน และเก็บเกี่ยว

เมื่อขาวเจริญงอกงาม หลังจากนั้นพากันรองรําเพลงดวยความสนุกสนานการแสดงเพลงเรือในฤดูนํ้าหลาก รําโทน

เปนการรํา และการรองของชาวบาน โดยมีโทนเปนเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ เปนการรอง และการรําไปตามความถนัด

ไมมีแบบแผนหรือทารําที่กําหนดแนนอน รํากลองยาว เปนการแสดงเพื่อความรื่นเริง ในขบวนแหตางๆ ของไทย

มีผูแสดงทั้งชาย และหญิง ออกมารําเปนคูๆ โดยมีผูตีกลองประกอบจังหวะ พรอม ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหมง เตนกํารําเคียว

เปนการแสดงพื้นเมืองของจังหวัดนครสวรรค นิยมเลนกันตามทองนา ผูแสดงทั้งชายและหญิงถือเคียวมือหนึ่ง

ถือรวงขาวมือหนึ่ง รองเกี้ยวพาราสีกันอยางสนุกสนาน รําเหยย หรือรําพาดผา เปนการละเลนที่แสดงวิธีชีวิตอันสนุก

ของชาวบานหมูบานเกา ตําบลจระเขเผือก อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เปนการรองรํา เกี้ยวพาราสีระหวางชาย–หญิง

เริ่มการแสดงดวยการประโคมกลองยาว จบแลวผูแสดงชายหญิง ออกมารําทีละคู