Previous Page  228 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 228 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๒๑๔

ศิลปะการแสดงพื้นบานของไทย

ศิลปะการแสดงพื้นบานมีกําเนิดมาจากทองถิ่นตางๆ อันเกิดจากภูมิปญญาทางดานวรรณกรรมและภาษาในวิถีชีวิต

ของชาวบาน ศิลปะการแสดงพื้นบาน มีทั้งประเภทดนตรี เพลงรอง การรายรําที่เปนระบํา รําฟอน การแสดงที่เปนเรื่องราว

ละครพื้นบานในรูปแบบทองถิ่นตางๆ ซึ่งเปนลักษณะการแสดงที่เรียบงาย แตก็มีความเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่นดวยสําเนียง

ภาษา และวัฒนธรรมประเพณีนิยม และอาจแฝงแนวคิดคําสั่งสอนตลอดจนสิ่งที่ควรประพฤติปฏิบัติสําหรับคนในทองถิ่นดวย

คุณคาและบทบาทของศิลปะการแสดงพื้นบาน นอกจากใหความบันเทิงและแฝงแนวคิดใหกับผูชมแลว การแสดงบางอยาง

ยังมีบทบาทในพิธีกรรมที่สําคัญตางๆของชุมชนดวยศิลปะการแสดงจึงเปนสื่อที่สามารถสะทอนใหเห็นผลผลิตทางวัฒนธรรม

ของกลุมชนอันเกี่ยวของกับวิถีชีวิตของคนไทยในทุกทองถิ่น

โดยทั่วไป ศิลปะการแสดง อาจมีตนกําเนิดความเปนมาจากการนําศิลปะการแสดงไปใชในโอกาสตางๆ ของมนุษย

เชน ในอดีตอาจเกิดขึ้นจากการแสดงเพื่อเซนสรวงหรือบูชาเทพเจา เพื่อแสดงความเคารพตอ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเซนบวงสรวง

ดวงวิญญาณที่ลวงลับ แสดงเพื่อความสนุกสนานในเทศกาลตางๆ การเกี้ยวพาราสีกันระหวางชายและหญิง การแสดง

เพื่อความเปนสิริมงคล แสดงความยินดีในโอกาสตางๆ การตอนรับแขกผูมาเยือน นอกจากนี้ ยังเปนการแสดงเพื่อสื่อถึง

เอกลักษณของทองถิ่นอันเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ และวัฒนธรรมประเพณีเพื่อสรางชื่อเสียงใหเปนที่รูจัก

ในสวนศิลปะการแสดงพื้นบานของไทย อาจมีที่มาจากโอกาสตางๆขางตน โดยสามารถ แบงลักษณะการแสดงออก

เปนภาคตาง ๆ ตามสภาพภูมิประเทศ สังคมและวัฒนธรรม ไดแก ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

(ภาคอีสาน) และภาคใต

๑. ศิลปะการแสดงพื้นบานของภาคเหนือ

สภาพภูมิประเทศภาคเหนือที่มีอาณาเขตติดตอกับพมาและลาว

โอบลอมดวยขุนเขา ทําใหมีสภาพอากาศที่หนาวเย็น ศิลปะการแสดงภาคเหนือจึงมีลักษณะผสมผสานระหวางชนพื้นเมือง

กลุมชาติพันธุ อาทิเชน ไทยลานนา ไทยใหญ เงี้ยว รวมถึงกลุมชนจากพมาที่มีประวัติศาสตรการเขามาปกครองลานนาไทย

สงผลใหการแสดงพื้นบานในภาคเหนือมีความหลากหลาย แตยังคงมีเอกลักษณเฉพาะที่แสดงถึงความนุมนวลของทวงทา และ

ทํานองเพลงประกอบกับความไพเราะของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สี ตี เปา ที่มีความเดนชัด ไมวาจะเปน เปยะ สะลอ ซอ

ซึง และกลอง ที่ปรากฏอยูในการฟอนประเภทตางๆ รวมทั้งการแสดงที่มีความเขมแข็ง หนักแนนในแบบฉบับของการ

ตีกลองสะบัดชัย และการตบมะผาบ การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือนอกจะมีลักษณะเปนแบบพื้นเมืองเดิม ไทยลานนา ไทยใหญ

เงี้ยวรวมถึงพมา ผสมกันอยูแลว ยังมีลักษณะการแสดงของภาคกลางรวมอยูดวย เชน ฟอนครัวทาน ฟอนเล็บ ฟอนเทียน

เปนตน บางฟอนประเภทก็ไดรับอิทธิพลจากชาติอื่น อาทิ พมา ไทยใหญ เงี้ยว เชน ฟอนไต ฟอนโต ฟอนเงี้ยว ฯลฯ

นอกจากนี้ ยังมีการฟอนแบบคุมหลวง เปนการฟอนที่เกิดขึ้นในคุมของพระราชชายาเจาดารารัศมี ซึ่งมีลักษณะ

การฟอนของภาคกลางผสมอยู เชน ฟอนมานมุยเชียงตา ฟอนนอยใจยา เปนตน

๒. ศิลปะการแสดงพื้นบานของภาคอีสาน

ดวยสภาพภูมิประเทศเปนที่ราบสูงบริเวณกวาง มีอาณาเขตตอนบน

ติดกับภาคเหนือของไทยและภาคตะวันออกติดตอกับประเทศลาว และตอนใตติดกับประเทศกัมพูชา สภาพอากาศรอน

และหนาวเย็น ศิลปะการแสดงภาคอีสานตอนบนจะมีลักษณะคลายภาคเหนือ และศิลปะการแสดงตอนลางของภาคอีสาน