Previous Page  205 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 205 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

งิ้ว: รากศัพทและความหมาย

‘งิ้ว’ เปนคําที่ใชกันในประเทศไทยและมีความหมายวา ‘ละครจีน’

ในสมัยอยุธยาชาวไทยเรียกการแสดงของจีนนี้วาอยางไรไมมีหลักฐานปรากฏแนชัด ตราบจนถึงสมัยกรุงธนบุรี

รัชสมัยพระเจาตากสินมหาราช พระองคทรงมีเชื้อสายจีน ชาวจีนจึงไดอพยพเขามาอยูเมืองไทยมากขึ้น คําที่ใชเรียก

การแสดงของ จีนวา ‘งิ้ว’ จึงเริ่มปรากฏในสมัยนี้

ขณะที่ในพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ตอนอภิเษกพระราชบุตรและ

พระราชธิดาสี่พระนคร ปรากฏคําวางิ้วขึ้นมาอีกเชนกันวา “ชองระทาหุนจีนงิ้วเจ็ก ละครแขกเล็กเล็กใสหัวสูง” นอกจาก

นี้คําวา ‘งิ้ว’ ยังปรากฏอีกมากมายในวรรณกรรมและจดหมายเหตุตาง ๆ เชน เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน หรือจดหมายเหตุ

ความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี เปนตน

ทั้งนี้ หากจะสืบความเปนมาของคําวา ‘งิ้ว’ จากคําไทยแลว ไมปรากฏคําไทยคําใดที่มีทั้งเสียงและความหมาย

ใกลเคียงกันพอที่จะสืบคนประวัติของคํานี้ไดเลย แตเมื่อพิจารณาวา ‘งิ้ว’ เปนการแสดงของชาวจีน คําวา ‘งิ้ว’ นาจะได

อิทธิพลมาจากคําจีน ซึ่งการแสดงที่ไทยเรียกวา ‘งิ้ว’ นั้น ชาวจีนเรียกวา (ซี่) (ฮี่) บาง (จวี้) (เกี๊ยะ) บาง และเรียก

ผูแสดงการละเลนชนิดนี้วา (อิว) ตามสําเนียงที่แตกตางกันของคนจีนแตละถิ่น

เสนทางสายงิ้วลูเมืองไทย

ที่ใดมีชาวจีนอาศัยอยูเปนกลุมใหญแลว สี่งที่ขาดไมได คือ ‘ศาลเจา’ ชีวิตความเปนอยูของชาวจีนกับศาลเจามี

ความผูกพันกันอยางลึกซึ้งมาโดยตลอด งานประจําปที่สําคัญยิ่งคืองานวันเกิดเจาและงานตอบแทนบุญคุณเจา ในชวงเวลา

ดังกลาวชาวจีนจะมีการวาจางงิ้วมาแสดงเพื่อเปนการเฉลิมฉลอง ซึ่งความเชื่อนี้เองเปนสาเหตุใหการแสดงงิ้วขยายเขามา

สูเมืองไทย

ยุคที่เฟองฟูที่สุดของการแสดงงิ้วในเมืองไทยเปนชวงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕

ชวงนั้นมีการอพยพแรงงานจีนสูประเทศไทยเปนจํานวนมาก คณะงิ้วจากเมืองจีนก็ไดเดินทางไปแสดงในตางประเทศมากขึ้น

รวมถึงประเทศไทย

งิ้วจากประเทศจีนที่เขามาแสดงในประเทศไทย ชวงแรกจะไมใชงิ้วแตจิ๋วเหมือนในปจจุบัน จะเปนงิ้ว ๔ ประเภท

คือ งิ้วไซฉิ้ง งิ้วงั่วกัง งิ้วเจี่ยอิม งิ้วแปะหยี่ ซึ่งไดรับความนิยมอยางมาก

ตอมางิ้วแตจิ๋วหรือที่ชาวจีนเรียกวา ‘ฉาวโจวซี่’ (เตี่ยจิวฮี่) ซึ่งเปนงิ้วทองถิ่นชนิดหนึ่งทางตอนใตของจีนที่เจริญขึ้นที่

เมืองแตจิ๋ว มณฑลกวางตุง งิ้วแตจิ๋วจึงไดเริ่มเดินทางมาแสดงยังเมืองไทยมากขึ้น และทําใหงิ้วประเภทอื่น ๆ ลดความนิยมลง

เนื่องจากชาวจีนสวนใหญที่อยูในเมืองไทยเปนคนจีนแตจิ๋ว ภาษาแตจิ๋วจึงเกือบเปนภาษากลางของคนจีนในเมืองไทย

ประเภทของงิ้ว

ปจจุบันถาจะจําแนกประเภทของงิ้วที่ใชคนแสดงคงจะแยกไดเพียง ๒ ประเภทเทานั้น คือ งิ้วหลวงและงิ้วทองถิ่น

งิ้วหลวง ภาษาจีนกลาง เรียกวา จิงจวี้ กั่วจวี้ หรือผิงจวี่ (เกียเกี๊ยะ กกเกี๊ยะ เผงเกั๊ยะ-แตจิ๋ว) ถือกันวาเปนงิ้ว ประจําชาติจีน

มีมาตรฐานแนนอน ทั้งดานลีลา ทาทางการรายรํา ทวงทํานอง ดนตรีที่ใชประกอบ จังหวะดนตรี เนื้อหา การแตงกาย

การแตงหนา ทุกอยางเปนไปตามแบบแผนที่ครูงิ้วกําหนดมาตั้งแตสมัยโบราณอยางเครงครัด

งิ้วทองถิ่น ภาษาจีนเรียกวา ตี่ฮึงซี่ (ตี้ฟงซี่) เปนงิ้วที่มีวิวัฒนาการมาจากการละเลนพื้นบานของชาวเมืองในทองถิ่น

นั้น ๆ ชาวบานมีการดัดแปลงเอาการแสดงใหม ๆ ที่ไดรับมาเปนแบบอยางของตน หรือบางครั้งอาจจะรวมเขากับ

การละเลนพื้นบานที่มีอยู แตยังคงไวซึ่งลักษณะเฉพาะของทองถิ่นนั้น ๆ

๑๙๑

ทําเนียบค ะนักแสดงื้ นบาน

irectory of folk ense bleิ้

ว:ั

พ แ

‘งิ้ว’ เ นคําี่ ใชกันใ ระเ ศไ ยและมีความ มายวา ‘ละครจีน’

ใ สมัยอยุธยาชาวไ ยเรียกการแสดงของจีนี้ วาอยางไรไมมีหลักฐา ราก แ ชัด ตรา จ ถึงสมัยกรุงธุ รี

รัชสมัย ระเจาตากสินม าราช ระองคทรงมีเชื้อสายจีน ชาวจีนจึงไดอ ย เขามาอยูเมืองไ ยมากขึ้น คําี่ ใชเรียก

การแสดงของ จีนวา ‘งิ้ว’ จึงเริ่ม ราก ใ สมัยี้

ข ะี่ ใ ระราชิ พ ธเรื่องอิเ าของ ระ า สมเด็จ ระุ ทธเลิศ ลา าลัย ตอ อิ เ ก ระราชุ ตรและ

ระราชธิดาสี่พระ คร ราก คําวางิ้วขึ้นมาอีกเชนกันวา “ชองระ าุ นจีนงิ้วเจ็ก ละครแขกเล็กเล็กใสหัวสูง” อกจากี้

คําวา ‘งิ้ว’ ยัง ราก อีกมากมายใ ว ร ก รมและจด มายเหตุตาง ๆ เชน เส าเรื่องขุนชางขุนแผ รือจด มายเหตุ

ความ รงจําของกรม ลวง ริน รเทวี เปนตน

ั้

งี้ ากจะสืบความเ นมาของคําวา ‘งิ้ว’ จากคําไ ยแลว ไมปราก คําไ ยคําใดี่ มีทั้งเสียงและความ มาย

ใกลเคียงกัน อี่ จะสืบคน ระวัติของคําี้ ไดเลย แตเมื่อิ จาร าวา ‘งิ้ว’ เปนการแสดงของชาวจีน คําวา ‘งิ้ว’ าจะได

อิทธิพลมาจากคําจีน ซึ่งการแสดงี่ ไ ยเรียกวา ‘งิ้ว’ ั้น ชาวจีนเรียกวา (ซี่) (ฮี่) าง (จวี้) (เกี๊ยะ) าง และเรียก

ผูแสดงการละเลนชิ ดี้ วา (อิว) ตามสําเนียงี่ แตกตางกันของค จีนแตละถิ่น

เ น ง งิ้วู เื องไ

ี่

ใดมีชาวจีนอาศัยอยูเ นกลุมใ แลว สี่งี่ ขาดไมได คือ ‘ศาลเจา’ ชีวิตความเ นอยูของชาวจีนกับศาลเจามี

ความผูกั นกันอยางลึกซึ้งมาโดยตลอด งา ระจํา ที่สําคัญยิ่งคืองา วันเกิดเจาและงา ตอ แุ ญคุณเจา ใ ชวงเวลา

ดังกลาวชาวจีนจะมีการวาจา งิ้วมาแสดงเื่ อเ นการเฉลิมฉลอง ซึ่งความเชื่อี้ เองเ นสาเ ตุใ การแสด งิ้วขยายเขามา

สูเมืองไ ย

ยุคี่ เ องู ที่สุดของการแสด งิ้วใ เมืองไ ยเ นชวงสมัย ระ า สมเด็จ ระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลี่

ชวงั้ นมีการอ ย แร งา จีนสูประเทศไ ยเปนจํา ว มาก ค ะงิ้วจากเมืองจีนก็ไดเดิน างไ แสดงใ ตาง ระเทศมากขึ้น

รวมถึง ระเทศไ ย

งิ้วจาก ระเทศจีนี่ เขามาแสดงใ ระเทศไ ย ชวงแรกจะไมใชงิ้วแตจิ๋วเหมือ ใ  จุบัน จะเปนงิ้ว ระเภ

คือ งิ้วไซฉิ้ง งิ้วงั่วกัง งิ้วเจี่ยอิม งิ้วแ ะ ยี่ ซึ่งไดรับความิ ยมอยางมาก

ตอมางิ้วแตจิ๋ว รือี่ ชาวจีนเรียกวา ‘ฉาวโจวซี่’ (เตี่ยจิวฮี่) ซึ่งเปนงิ้ว องถิ่นชิ ดึ่ ง างตอ ใตของจีนี่ เจริญขึ้นี่

เมืองแตจิ๋ว ม ลกวางตุง งิ้วแตจิ๋วจึงไดเริ่มเดิน างมาแสดงยังเมืองไ ยมากขึ้น และํ าใ งิ้ว ระเภ อื่น ๆ ลดความิ ยมลง

เนื่องจากชาวจีนสว ใ ที่อยูใ เมืองไ ยเปนค จีนแตจิ๋ว า าแตจิ๋วจึงเกือ เปน า ากลางของค จีนใ เมืองไ ย

ร เ

งิ้ว

 จุบันถาจะจําแ ก ระเภ ขอ งิ้วี่ ใชค แสดงคงจะแยกไดเพียง ระเภ เทาั้ น คือ งิ้ว ลวงและงิ้ว องถิ่น

งิ้ว ลวง ภา าจีนกลาง เรียกวา จิงจวี้ กั่วจวี้ หรือผิงจวี่ (เกียเกี๊ยะ กกเกี๊ยะ เผงเกั๊ยะ-แตจิ๋ว) ถือกันวาเปนงิ้ว ประจําชาติจีน

มีมาตรฐา แ นอ ั้งดา ลีลา า างกา รายรํา วงํ า อง ด ตรีที่ใชประกอ จัง วะด ตรี เื้ อ า การแตงกาย

การแตง า ุกอยางเปนไ ตามแ แผี่ ครูงิ้วกํา ดมาตั้งแตสมัยโ รา อยางเครงครัด

งิ้ว องถิ่น ภา าจีนเรียกวา ตี่ฮึงซี่ (ตี้ฟงซี่) เปนงิ้วี่ มีวิวัฒ าการมาจา การละเลนื้ น า ของชาวเมืองใ องถิ่น ั้

น ๆ ชาว า มีการดัดแ ลงเอาการแสดงใ ม ๆ ี่ไดรับมาเ นแ อยางของต รือ างครั้งอาจจะรวมเขากับ

การละเลนื้ น าี่ มีอยู แตยังคงไวซึ่งลัก ะเฉ าะของ องถิ่นั้ น ๆ