Previous Page  16 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 16 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

ซอ

ความหมายและประวัติความเปนมา

ซอ คือ การขับลํานําหรือขับรองดวยถอยทํานองตาง ๆ อันไพเราะเปนศิลปะการแสดงดานการขับขานพื้นบาน

ลานนา ที่พบทางภาคเหนือตอนบน ไดแก เชียงใหม เชียงราย ลําพูน ลําปาง แพร นาน พะเยา ซอเปนสื่อพื้นเมือง

ที่ใหความบันเทิง และเนื้อหาสาระที่นํามาเปนบทขับรองเปนองคความรูที่ไดรับการถายทอดมาจากพอครูแมครูและ

การนาขอมูลขาวสาร เหตุการณบานเมืองมารอยเรียงเปนบทขับขาน เนื้อหาที่ชางซอนํามาซอนั้นจะแฝงทั้งคติธรรมและ

คติโลก กลาวคือ มีทั้ง สาระและบันเทิงอยูในบทซอ

ซอที่ไดรับความนิยมในภาคเหนือ มี ๒ แบบ คือ ซอแบบจังหวัดเชียงใหม และซอแบบจังหวัดนาน ซอทํานองทาง

เชียงใหมจะใชปจุม (ขุม) และซึงเปนเครื่องดนตรีประกอบ สวนซอทางจังหวัดนานจะใชพิณ (อานออกเสียงปน) และสะลอ

เปนเครื่องดนตรีประกอบการขับซอ

ซอเปนเพลงพื้นบานลานนาที่เปนภูมิปญญาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษและสืบทอดมาถึงชั่วลูกหลานจนถึงปจจุบัน

การซอนี้คาดวานาจะมีมาตั้งแตการกอตั้งอาณาจักรลานนาในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ที่มาของซอเชียงใหม สันนิษฐานวา

พอขุนมังรายอาจนําชางซอจากเชียงแสนติดตามมาดวยระหวางการอพยพผูคนมาตั้งเมืองใหม ดังนั้นการซอในระยะแรก

นาจะแพรหลาย อยูเฉพาะกลุมเจานายเชื้อพระวงศหรือมีแสดงเฉพาะในคุมในวัง หลักฐานหนึ่งที่สามารถบงบอกวา

ซอเชียงใหมมาจากเชียงแสนหรือการจอยเชียงแสนมาขับรองเสมอโดยเรียกทํานองเชียงแสนกลาย สวนทํานองอื่น ๆ

คาดวา นาจะนํามาจากเมืองตาง ๆ เห็นไดจาก ชื่อเรียกของทํานองซอแตละทํานอง เชน ทํานองพมา ทํานองเงี้ยว จากนั้น

จึงคอย ๆ พัฒนากลายเปนแบบแผนของทํานองซอแบบเชียงใหมในปจจุบัน ซึ่งซอแบบเชียงใหมนี้ใชแพรหลายอยูในจังหวัด

เชียงใหม เชียงราย ลําพูน ลําปาง บางสวนของจังหวัดพะเยา และแพรสําหรับซอนานเปนแบบแผนของซอที่ใชแพรหลาย

ในเขตจังหวัด นาน แพร และบางสวนของจังหวัดพะเยา และอุตรดิตถ เชื่อวามีมาตั้งแตครั้งพญาการเมืองอพยพผูคนยาย

ถิ่นฐานมาจาก เมืองปวลงมา ตามแมนํ้านานในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เพื่อมาตั้งถิ่นฐานใหม บริเวณที่เปนตัวเมืองนาน

ปจจุบัน ระหวางการเดินทางมีชายหญิงคูหนึ่ง ชื่อวา ปูคํามา และยาคํามี ไดขับลํานําบรรยายการเดินทางระหวางการ

ลองแพมาตามลํานํานาน มาจนถึงเมืองนาน บทเพลงของชายหญิงคูนั้นถูกจดจําและถายทอดสืบตอๆ กันมาจนกลาย

เปนเพลงพื้นบานที่มีชื่อวาซอลองนาน สวนทํานองซอทํานองอื่น ๆ ที่นามาใชกับซอนานนั้นคาดวานาจะแพรเขามา

จากการติดตอกันระหวางเมืองตางๆ และนํามาปรับจังหวะทํานองใหเขากับเครื่องดนตรีที่ใชประกอบการซอเมืองนาน

คือพิณและสะลอ

รูปแบบการซอ

รูปแบบการซอในปจจุบันทั้งแบบเชียงใหมและแบบนาน สามารถแบงเปนรูปแบบที่ใชในการแสดงได ๓ รูปแบบ คือ

๑. การซอคู คือการซอขับรองระหวางชางซอชาย๑คนกับชางซอหญิง๑คน ในลักษณะการโตตอบซักถามกันสวนใหญ

ผูซอจะคิดคํารองขึ้นสด ๆ ในขณะแสดง ซอคูเปนรูปแบบการซอดั้งเดิมที่ใชอยางแพรหลาย ในงานบุญ ประเพณีตาง ๆ

๒. ละครซอ เปนรูปแบบของการซอที่มีการดัดแปลงจากการซอคูมาเปนการซอแบบละคร โดยนํารูปแบบ

การแสดงของลิเก และละครคําเมืองมาใชเปนตนแบบในการดัดแปลง มีความแตกตางจากซอคู คือ มีเนื้อเรื่อง ในลักษณะ

เปนบทที่มีการแตงไวลวงหนาโดยนําเนื้อหาจากวรรณคดีพื้นบาน เรื่องจากธรรมะ เรื่องที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตปญหาทางดานลังคม -

เศรษฐกิจ มีการดําเนินเรื่องเปนฉาก ๆ มีบทพูดมีการออกทาทางประกอบการแสดง ในการแสดงละครซอเรื่องหนึ่ง

ใชผูแสดงหรือชางซอ จํานวนตั้งแต ๑๐ - ๑๒ คน ชึ้นไป