Previous Page  132 / 282 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 132 / 282 Next Page
Page Background

ทําเนียบคณะนักแสดงพื้นบาน

Directory of folk ensemble

๑๑๘

จัดใหมีการรับขวัญโดยเชิญพราหมณโหร และนิมนตพระสวดพิธีมงคลทําขวัญและมีมหรสพ ๗ วัน ๗ คืน ในงานมหรสพนี้

ก็ไดมีการจัดรําโนราดวย พระยาสายฟาฟาดไดทรงพระราชทานเครื่องตน และพระยาสายฟาฟาดก็ไดพระราชทาน

บรรดาศักดิ์ลูกของนวลทองสําลี เจานายนอยเปน “ขุนศรัทธา” เครื่องตนที่พระราชทานคือ เทริด กําไลแขน ปนแหนง

สังวาลพาดเฉียง ๒ ขาง ปกนกแอน หางหงส สนับเพลา ซึ่งลวนแตเปนเครื่องของกษัตริยทั้งสิ้น จะเห็นไดวา โนราแตเดิม

ก็เปนเชื้อพระวงศ ขุนศรัทธาไดสอนรําโนราใหผูอื่นเปนการถายทอดนาฏศิลปแบบโนราไปเรื่อย ทั้งนี้ในพระบรมราชูปถัมภ

ของสมเด็จพระเจาตาโนราจึงไดแพรหลายตอไป และตอมาหลายชั่วคนจนบัดนี้

ทารําโนรา

นอม คงเกลี้ยง (ม.ป.ป.,๖๐ - ๗๐) ไดกลาวถึงทารําครูสอน เปนทารําประกอบคําสอนของครูโนรา เชน สอนให

จัดตั้งวงแขนเบื้องขาและเบื้องเทา สอนใหรูจักสอนเทริด สอนใหรูจักการแตงกาย หรือมีทาประกอบการแตงกาย เชน เปนการ

สอนใหนุงผา เวลานุงนั้นจะมีเชือกผูกสะเอวอยูดวย แลวแตงใหเปนหาง ทาสอดทรงกําไล คือสอดใหผูเริ่มฝกหัดรํารูจัก

สวมกําไลทั้งขวาและซาย ทาสอดครอบเทริดนอย ถาเปรียบการบวชเรียนสมัยกอน การบวชเณรเทากับการครอบเทริดนอย

การครอบเทริดใหญหรือพิธีผูกผาใหญ เปรียบบวชพระภิกษุ

บรรยายทาบทประกอบ

ทารําบทประกอบนี้ ถือเปนทาพื้นฐานของรําโนรา จะรําทําบทหรือตีบท ก็จะกะเอาทาจากบทประกอบบางทา

ประกอบบทรอง ทาตาง ๆ ในบทประกอบเปนทาเลียนแบบธรรมชาติ เชน ทาสิงโต ทานกแขกเตา ทากวางเดินดง ทาหงส

ทอง เปนตน นอกจากเลียนแบบธรรมชาติแลว ยังแกะตัวละครในวรรณคดี เชน ทาลักษณะแผลงศร มาจากตีทาตามบท

ซึ่งพอจะสรุปทาตาง ๆ ได ดังนี้ (ไมลดทาเชื่อมหรือทาตอเนื่อง)

๑. ทานางเทพมาลี คือ บางเทพธิดาที่มีรูปรางสวยงาม ตามที่นางนวลทองสําลีไดฝก

๒. ทาจับระบําบวน คือ รําเปนกระบวนรอบ ๑๒ ทา

๓. ทาพรหมสี่หนา ทานี้แยกออกเปนทา คือ รําเปนพรหมสี่หนาการรําเปนสี่คนคือสี่หนา

๔. ทาสอดสรอย ทานี้ตีทาออกมาเปนสองทา ถือทาสอดสรอยมาลา ทาพวงหนึ่งดวย

๕. ทาเวโหมโยนชาใหนองนอน แบงเปนทาเวโหม คือทากลอมทาหนึ่ง เปนทานองนอนอีกทาหนึ่ง เปรียบทาชา

นางนอน ของนาฏศิลบํไทย

๖. ทาผาลาเพียงไหล โนราแบงเปนทาผาลา (ภาษาพื้นเมืองภาคใตทาผาลา) และทารําเพียงไหลอีกทาหนึ่ง

๗. ทาสมัยเคียงหมอน การตีทาของโนรานั้นแยกละเอียดแตละทาดังนี้ คือทาพิสมัย ทารวมทาเรียง และทาเคียงหมอน

๘. ทาตางกัน หมายถึง ทาแตกตางกัน ถารําหลายคนจะจัดทาอยางไรก็ได

๙. ทาหันเปนมอญ คือ ทาหมุนใหเปนวงกลม ทานี้มีกระบวนทาอยูสองทาทองโรง และทาเคลื่อนไหวรอบตัวคําวา

หันเปนมอญ หมายถึง เคลื่อนไหววงกลม

๑๐. ทานกแขกเตาเขารัง ทานี้มีกระบวนทาหลายทา เปนการเลียนแบบจากอาการกิริยาของนก เชน กอนจะบินเขารัง

จะตองเริ่มกางปก เชน สลัดขน เตน แลวบินเขารัง โนราจะเลียนแบบจากนกเหลานี้มารํา

๑๑. ทากระตายชมจันทร เปนการเลียนแบบจากทาสัตวคือ กระตาย กําลังชมจันทรทานี้ผูรําจะตองเปนจันทรคนหนึ่ง

โดดรําทาเขาควายแขนเปนวงกลม คือ ดวงจันทร นอกนั้นที่เหลือเปนกระตายที่กําลังชมจันทร

๑๒. ทาพระจันทรทรงกลด เปนการเลียนแบบธรรมชาติอยางหนึ่ง คือจันทรทรงกลด การรําทานี้ แลวแตผูรําจะจัด

ทา อยางไร คือการตีทาใหเหมือนจันทรทรงกลด

๑๓. ทาพระรถพึ่งสาร หรือพระรถโยนสาร เลียนแบบจากพระรถเสน ในเรื่องพระรถเมรีพึ่งสารหรือสงจดหมายนั้นเอง