Page 62 - ถอดบทเรียน
P. 62

๑.๒ การเรียนรู้ เรื่อง “การใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรม
              ในการอนุรักษ์ รักษาและจัดการข้อมูล และวัตถุ/มรดกทาง

              วัฒนธรรมของกรมศิลปากร” มีประเด็นสาระสำาคัญในการเรียนรู้
              คือ ภาพรวมภารกิจของกรมศิลปากรแบ่งเป็น ๔ งานหลัก ประกอบด้วย
              งานภาษาหนังสือ  งานโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์  งานช่างและ

              งานสนับสนุน ทั้งนี้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม
              มีความรับผิดชอบงานเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมศิลปากรทั้ง
              Hardware และ Software งานฝึกอบรมด้าน IT และงานบริการ
              เผยแพร่ข้อมูลและองค์ความรู้วัฒนธรรมบนระบบ Internet



                    การใช้เทคโนโลยีในการจัดการข้อมูลมรดกวัฒนธรรม

              ของกรมศิลปากร  มีการวางแผนจัดทำาแผนแม่บทเทคโนโลยี
              และพัฒนาระบบตามภารกิจและการให้บริการประชาชน เช่น ระบบ
              สารสนเทศภูมิศาตร์ (GIS) แหล่งมรดกศิลปวัฒนธรรม ระบบทะเบียน
              โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ระบบการเชื่อมโยงข้อมูลหน่วยงาน ภาครัฐ

              และภาคธุรกิจ (NSW) นำาเข้าส่งออกโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ เป็นต้น
              ทั้งนี้ กรมศิลปากรได้สนองตอบนโยบาย ๔.๐ และรัฐบาลดิจิทัล เช่น
              Smart Museum, Virtual Museum (www.virtualmuseum.

              finearts.go.th), Virtual Historical Park, SilpaKorn Online, E-Book,
              เกมมรดกวัฒนธรรม สำาหรับเยาวชน (รามเกียรติ์), AR โบราณสถาน,
              Virtual พระเมรุมาศ (Phramerumas.finearts.go.th), 3D Scan 3D
              Printing และ Smart Social






         60        ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาบุคลากรเครือข่ายทางวัฒนธรรม ประจําป  พ.ศ. ๒๕๖๒  ๐๑
                       หลักสูตรผู้บริหารเครือข่ายวัฒนธรรมและหลักสูตรผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรม
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67