Page 200 - 089 รุกข มรดกของแผ่นดิน
P. 200

196




            ต้นมะเดื่อชุมพร




            ชื่อสามัญ        -
            ชื่อวิทยาศาสตร์   Ficus racemosa L.
            ชื่อวงศ์         MORACEAE
            ชื่อเรียกอื่น    กูแซ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เดื่อเกลี้ยง (ภำคกลำง, ภำคเหนือ),
                             เดื่อน�้ำ (ภำคใต้), มะเดื่อ มะเดื่อชุมพร มะเดื่ออุทุมพร (ภำคกลำง)



            ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

                     ต้นมะเดื่อชุมพรมีถิ่นก�ำเนิดครอบคลุมในเขตร้อนของทวีปเอเชีย  ไล่ตั้งแต่ประเทศอินเดียไปจนถึงประเทศจีน  โดยจัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนำดกลำง
            ทรงพุ่มกว้ำง ใบหนำทึบ ล�ำต้นสูงประมำณ ๕ - ๒๐ เมตร ล�ำต้นเกลี้ยง เปลือกต้นเป็นสีน�้ำตำลหรือน�้ำตำลปนเทำ กิ่งอ่อนเป็นสีเขียว ส่วนกิ่งแก่เป็นสีน�้ำตำลเกลี้ยง
            ส่วนใบจะเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับตำมกิ่ง ใบเป็นรูปทรงรี หรือรูปหอก โคนใบมนหรือกลม ปลำยใบแหลม ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนไม่หลุดร่วงง่ำย ขอบใบเรียบ
            มีเส้นแขนงในใบประมำณ ๖ - ๘ คู่ และก้ำนยำวประมำณ ๖ - ๑๐ เซนติเมตร ส่วนดอกมะเดื่อชุมพร จะออกดอกเป็นช่อยำวตำมกิ่ง โดยแต่ละช่อก็จะมีดอกย่อย
            ขนำดเล็กเป็นกลุ่ม ดอกช่อจะเกิดภำยในฐำนรองดอกที่มีรูปร่ำงคล้ำยผล และดอกมีสีขำวอมชมพู ลักษณะของลูกมะเดื่อชุมพร มีลักษณะทรงกลมแป้นหรือรูปไข่
            ผลจะเกำะกลุ่มอยู่ตำมต้นและตำมกิ่ง ห้อยเป็นระย้ำสวยงำม โดยผลอ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเป็นสีแดงม่วง มีรสฝำดอมหวำน สำมำรถรับประทำนได้ ซึ่งดอกและผลนี้
            จะออกตลอดปี ประโยชน์ รำกใช้เป็นยำแก้ไข้ ถอนพิษไข้ กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้หัว ไข้กำฬ หรือไข้พิษทุกชนิด ช่วยกล่อมเสมหะและโลหิต เปลือกช่วยแก้อำเจียน แก้ธำตุพิกำร

            แก้ประดงเม็ดผื่นคัน ผลดิบช่วยแก้โรคเบำหวำน ผลสุกมีฤทธิ์เป็นยำระบำย


            Ton Madua Chumphon




            Common name  -
            Scientific name  Ficus racemosa L.
            Family name      MORACEAE
            Other names      Kusae (Karen-Mae Hong Son), Dua Kliang (Central Thailand,
                             Northern Thailand), Dua Nam (Southern Thailand), Madua,
                             Madua Chumphon, Madua Uthumphon (Central Thailand)


            Botanical characteristics

                     Ton Madua Chumphon originated in tropical areas of Asia starting from India to China. It is a medium-sized perennial tree with wide top
            and dense leaves. The trunk is about 5 - 20 meters tall and smooth. The bark is brown or grayish brown. The young branch is green while older
            branch turns brown. The tree has single leaves arranged in alternate pattern on the branches. The leaf is in an oval or lanceolate shape. The leaf
            base is rounded, and the tip leaf is acute. The leaf surface is smooth or hairy and is not easy to fall off. The leaf margin is smooth with 6 - 8 pairs of
            secondary roots. The petiole is 6 - 10 centimeters long.  The flowers grow in inflorescences along the branches. Each inflorescence consists of small
            florets. The inflorescence is formed within the flower base, and it looks like a fruit. The flower is white and pink. The fruits are in an oval shape growing
            in groups on the trunk and the branches beautifully hanging down. The young fruit is green and turns reddish purple when mature. It is bittersweet
            and edible. The flowers and fruits are produced throughout the year. The root can relieve a fever, headache, meningococcal infections or all kinds
            of fever and can get rid of phlegm and blood. The bark can relieve vomiting and rashes. Raw fruits can treat diabetes and ripe fruits have laxative
            effect.

       196
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205