Page 17 - Thai Culture

Basic HTML Version

ปฐมบท
|
 15
ภาษา 
หมายถึ
งเครื่
องมื
อที่
มนุ
ษย์
ใช้
สื่
อสารในการด�
ำรงชี
วิ
ต ปฏิ
สั
มพั
นธ์
กั
บกลุ
มชนต่
างๆ
ซึ่
งสะท้
อนโลกทั
ศน์
ภู
มิ
ปั
ญญา และวั
ฒนธรรมของแต่
ละกลุ่
มชน ทั้
งวั
จนภาษา (ภาษาที่
ใช้
ถ้
อยค�
ำ) และ
อวั
จนภาษา (ภาษาที่
ไม่
ใช้
ถ้
อยค�
ำ) ส�
ำหรั
บประเทศไทยมี
ภาษาไทยเป็
นภาษาประจ�
ำชาติ
สามารถแบ่
ประเภทได้
ดั
งนี้
“ภาษาไทย”
หมายถึ
ง ภาษาราชการที่
ใช้
ในประเทศไทย
“ภาษาไทยถิ่
น”
หมายถึ
ง ภาษาที่
ใช้
ติ
ดต่
อสื่
อสารตามท้
องถิ่
นต่
างๆ สามารถสื่
อความหมาย
และสร้
างความเข้
าใจกั
นในท้
องถิ่
นนั้
นๆ โดยแต่
ละท้
องถิ่
นอาจพู
ดแตกต่
างกั
นไปทั้
งในด้
านเสี
ยงและค�
ได้
แก่
ภาษาไทยภาคเหนื
อ ภาษาไทยภาคอี
สาน ภาษาไทยภาคกลาง และภาษาไทยภาคใต้
“ภาษากลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
หมายถึ
ง ภาษาที่
ใช้
ติ
ดต่
อสื่
อสารภายในกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ต่
าง ๆ ที่
อาศั
อยู่
ในประเทศไทย ได้
แก่
กลุ่
มภาษาตระกู
ลไท กลุ่
มภาษาตระกู
ลจี
น-ทิ
เบต และกลุ่
มภาษาม้
ง-เมี่
ยน
นอกจากนี้
ในภาษาไทยยั
งมี
ระดั
บของค�
ำหรื
อศั
กดิ์
ของค�
ำที่
ใช้
เฉพาะแก่
บุ
คคล กาลเทศะ
อั
นเป็
นเอกลั
กษณ์
ทางภาษาไทย เช่
น มี
การใช้
ค�
ำราชาศั
พท์
ซึ่
งก�
ำหนดขึ้
นไว้
ใช้
ส�
ำหรั
บพระมหากษั
ตริ
ย์
หรื
อระดั
บของการเรี
ยกบุ
คคลแบบเครื
อญาติ
พี่
น้
อง ลุ
ง ป้
า น้
า อา ปู
ย่
า ตา ยาย แม้
ว่
าบุ
คคลเหล่
านั้
จะมิ
ได้
มี
ความสั
มพั
นธ์
ทางเครื
อญาติ
กั
นเลย
ภู
มิ
ปั
ญญาของแต่
ละท้
องถิ่
นคื
มรดกที่
บรรพบุ
รุ
ษได้
สร้
างสรรค์
สั่
งสม และสื
บทอดกั
นมาอย่
าง
ต่
อเนื่
อง เกิ
ดเป็
นเรื่
องราว
อั
นทรงคุ
ณค่
าที่
คนในท้
องถิ่
ตลอดจนคนในชาติ
ควรเล็
งเห็
คุ
ณค่
า มี
ความภาคภู
มิ
ใจ
ที่
จะสื
บสานให้
ยั่
งยื
นต่
อไปใน
อนาคต