14
|
วั
ฒนธรรม วิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
มรดกภู
มิ
ปัญญา
ทางวั
ฒนธรรม
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
หมายถึ
ง การปฏิ
บั
ติ
การเป็
น
ตั
วแทนการแสดงออก ความรู้
ทั
กษะ ตลอดจนเครื่
องมื
อ วั
ตถุ
สิ่
งประดิ
ษฐ์
และพื้
นที่
ทางวั
ฒนธรรมที่
เกี่
ยวเนื่
องกั
บสิ่
งเหล่
านั้
น ซึ่
งชุ
มชน กลุ่
มชน และ
ในบางกรณี
ปั
จเจกบุ
คคลยอมรั
บว่
าเป็
นส่
วนหนึ่
งของมรดกทางวั
ฒนธรรม
ของตน มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมซึ่
งถ่
ายทอดจากคนรุ
่
นหนึ่
งไปยั
งคน
อี
กรุ
่
นหนึ่
งนี้
เป็
นสิ่
งที่
ชุ
มชนและกลุ
่
มชนสร้
างขึ้
นมาอย่
างสม�่
ำเสมอ เพื่
อตอบสนอง
ต่
อสภาพแวดล้
อมของตน เป็
นปฏิ
สั
มพั
นธ์
ของพวกเขาที่
มี
ต่
อธรรมชาติ
และ
ประวั
ติ
ศาสตร์
ของตน และท�
ำให้
คนเหล่
านั้
นเกิ
ดความรู
้
สึ
กมี
อั
ตลั
กษณ์
และ
ความต่
อเนื่
อง ดั
งนั้
นจึ
งก่
อให้
เกิ
ดความเคารพต่
อความหลากหลายทาง
วั
ฒนธรรม และการคิ
ดสร้
างสรรค์
ของมนุ
ษย์
ลั
กษณะของมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
จ�
ำแนกออกเป็
น
๖ สาขา ดั
งนี้
๏ วรรณกรรมพื้
นบ้
านและภาษา
วรรณกรรมพื้
นบ้
าน
หมายถึ
ง วรรณคดี
หรื
อศิ
ลปะอั
นเป็
นผลงานที่
เกิ
ดจากการคิ
ดและจิ
นตนาการ แล้
วน�
ำมาเรี
ยบเรี
ยง บอกเล่
า บั
นทึ
ก ขั
บร้
อง
หรื
อสื่
อออกมาด้
วยกลวิ
ธี
ต่
างๆ โดยทั่
วไปแล้
ววรรณกรรมมี
๒ ประเภท คื
อ
วรรณกรรมลายลั
กษณ์
เป็
นวรรณกรรมที่
บั
นทึ
กด้
วยตั
วหนั
งสื
อ และวรรณกรรม
มุ
ขปาฐะ เป็
นวรรณกรรมที่
เล่
าด้
วยปาก ไม่
ได้
มี
การจดบั
นทึ
ก ฉะนั
้
นวรรณกรรม
จึ
งมี
ความหมายครอบคลุ
มถึ
งนิ
ทาน ต�
ำนาน เรื่
องเล่
า เรื่
องสั้
น นวนิ
ยาย ประวั
ติ
บทเพลง ค�
ำคม เป็
นต้
น ส�
ำหรั
บวรรณกรรมของไทยนั้
นมี
ทั้
งประเภทร้
อยแก้
ว
และร้
อยกรอง ซึ่
งเป็
นที่
รู
้
จั
กกั
นอย่
างแพร่
หลาย มี
ทั้
งวรรณกรรมในราชส�
ำนั
ก
และวรรณกรรมพื
้
นบ้
าน อาทิ
ศิ
ลาจารึ
กไทยหลั
กที่
๑ อิ
เหนา รามเกี
ยรติ์
พระปฐมสมโพธิ
กถา สุ
ภาษิ
ตพระร่
วง พระอภั
ยมณี
ลิ
ลิ
ตยวนพ่
าย ต�
ำนาน
พระพุ
ทธสิ
หิ
งค์
ต�
ำนานดาวลู
กไก่
นิ
ทานก่
องข้
าวน้
อยฆ่
าแม่
ฯลฯ ล้
วนแต่
เป็
นวรรณกรรมไทยที่
ทรงคุ
ณค่
าทั้
งสิ้
น