114
|
วั
ฒนธรรม วิ
ถี
ชี
วิ
ตและภู
มิ
ปั
ญญา
“
นอกจากเป็
นสิ่
งแสดงถึ
ง
ภู
มิ
ปั
ญญาจากวิ
ถี
ชี
วิ
ตของ
แต่
ละชุ
มชนท้
องถิ่
นแล้
ว
งานช่
างจั
กสานไทยยั
งแฝง
คุ
ณค่
าในการแสดงออก
ทางอารมณ์
และจิ
ตใจ
ของช่
างพื้
นบ้
าน
ผ่
านความละเอี
ยด ประณี
ต
สื่
อถึ
งอารมณ์
อั
นละเอี
ยดอ่
อน
ของผู้
สานได้
เป็
นอย่
างดี
”
วั
ตถุ
ประสงค์
หลั
กในการท�
ำเครื่
องจั
กสานคื
อประโยชน์
ใช้
สอย ดั
งนั้
นรู
ปทรงจึ
งถู
กก�
ำหนดจาก
การน�
ำไปใช้
งาน เช่
น คุ
ตี
ข้
าวของภาคเหนื
อ เป็
นภาชนะจั
กสานขนาดใหญ่
เส้
นผ่
านศู
นย์
กลางประมาณ
๒-๓ เมตร สู
ง ๑ เมตร ใช้
ส�
ำหรั
บฟาดข้
าวให้
หลุ
ดจากรวง จึ
งต้
องสานให้
ปากกว้
าง ก้
นนู
นขึ้
นเล็
กน้
อย
ส่
วนตะแกรงช้
อนปลา ถ้
าใช้
ช้
อนปลาขนาดเล็
ก ตาตะแกรงจะถี่
แต่
หากช้
อนปลาตั
วใหญ่
ตะแกรง
จะมี
ขนาดใหญ่
ตาห่
าง และยกขอบสู
ง
วั
ฒนธรรมความเป็
นอยู
่
ของคนในแต่
ละภาคก็
มี
ผลต่
อการประดิ
ษฐ์
เครื่
องจั
กสานที่
แตกต่
างกั
น
เช่
น คนภาคอี
สานและคนภาคเหนื
อนิ
ยมบริ
โภคข้
าวเหนี
ยว จึ
งประดิ
ษฐ์
กระติ๊
บและก่
องข้
าวไว้
ส�
ำหรั
บ
ใส่
ข้
าวเหนี
ยวนึ่
งโดยเฉพาะ แต่
กระติ๊
บและก่
องข้
าวของคนทั้
งสองภาคล้
วนแตกต่
างกั
นในรายละเอี
ยด
กระติ๊
บข้
าวของอี
สานนิ
ยมสานจากไม้
ไผ่
สี
ธรรมชาติ
ไม่
มี
ลวดลาย ขณะที่
ก่
องข้
าวของทางภาคเหนื
อ
นิ
ยมท�
ำจากใบลานหรื
อไม้
ไผ่
มี
ลวดลายและสี
สั
นสวยงาม ส่
วนคนภาคกลางที่
มี
วิ
ถี
ชี
วิ
ตผู
กพั
นกั
บน�้
ำ
จึ
งมี
เครื่
องจั
กสานที่
เอื้
อต่
อการใช้
งานทางน�้
ำหลายประเภท เช่
น กระชั
งส�
ำหรั
บเลี้
ยงปลาในแม่
น�้
ำ ลอบ
และไซส�
ำหรั
บจั
บสั
ตว์
น�้
ำริ
มฝั่
ง ในขณะที่
คนภาคใต้
มี
เครื่
องจั
กสานที่
มี
ลั
กษณะแตกต่
างจากภาคอื่
นเพื่
อ
ความสะดวกในการใช้
งาน เช่
น กระด้
งฝั
ด ที่
มี
รู
ปกลมรี
คล้
ายรู
ปหั
วใจ ส่
วนป้
านจะกลมมน ส่
วนแหลม
รี
เล็
กน้
อยเพื่
อความสะดวกในการร่
อน มิ
ได้
เป็
นทรงกลมเหมื
อนกระด้
งฝั
ดในภาคกลาง