Page 115 - Thai Culture

Basic HTML Version

ศาสตร์
และศิ
ลป์
งานช่
างไทย
|
 113
เครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
พื้
นถิ่
นหั
ตถศิ
ลป์
ไทย
เครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
เป็
นหั
ตถกรรมเก่
าแก่
ของไทยที่
แม้
จุ
ดประสงค์
หลั
กในการสร้
างสรรค์
จะไม่
ได้
มุ
งเน้
นที่
ความงามมากไปกว่
าประโยชน์
ใช้
สอย แต่
รู
ปทรงและลวดลายอั
นเรี
ยบง่
ายที่
ประดิ
ษฐ์
ขึ้
จากสองมื
อกลั
บมี
คุ
ณค่
าทางศิ
ลปะไม่
ด้
อยไปกว่
างานหั
ตถกรรมประเภทอื่
นเลย
เครื่
องจั
กสานคื
อสิ่
งของเครื่
องใช้
ต่
างๆ ที่
น�
ำไม้
ไผ่
หวาย กระจู
ด ใบตาล ใบลาน ย่
านลิ
เภา หรื
วั
สดุ
อื่
นๆ มา
“จั
ก”
เป็
นเส้
น เป็
นริ้
ว เรี
ยก
“ตอก”
แล้
“สาน”
สอดขั
ดกั
นระหว่
างเส้
นตั้
งกั
บเส้
นนอน
หรื
อขั
ดกั
นในแนวทแยงเป็
นแผ่
นแผงหรื
อรู
ปทรงต่
างๆ ตามการใช้
สอย พั
ฒนาการของเครื่
องจั
กสานไม้
ไผ่
เกิ
ดขึ้
นจากความต้
องการเครื่
องมื
อเครื่
องใช้
ในครั
วเรื
อน และเครื่
องมื
อทางการเกษตรซึ่
งเอื้
อประโยชน์
ต่
อการด�
ำรงชี
วิ
ตในสั
งคมเกษตรกรรมที่
ใกล้
ชิ
ดกั
บธรรมชาติ
เช่
น การท�
ำชะลอม กระบุ
ง ตะกร้
าส�
ำหรั
ใส่
ของ อี
กทั้
งไม้
ไผ่
ยั
งเป็
นสิ่
งที่
หาได้
ง่
ายในท้
องถิ่
นจึ
งช่
วยลดค่
าใช้
จ่
ายในการซื้
อหาได้
การแปรรู
ปไม้
ไผ่
เป็
นภู
มิ
ปั
ญญาอย่
างหนึ่
งของการจั
กสาน โดยทั่
วไปจะใช้
ไผ่
เนื้
อหนาตั
ดมาทั้
งล�
แล้
วทอนเป็
นท่
อนๆ ตามความยาวของตอกที่
จะใช้
สาน ผ่
าออกเป็
นซี
กแล้
วจั
กเป็
นเส้
นบางๆ เหลาให้
เรี
ยบ เพื่
อให้
เหมาะกั
บภาชนะเครื่
องใช้
ต่
างๆ ตอกมี
หลายประเภทขึ้
นอยู
กั
บการน�
ำมาใช้
งาน เช่
ตอกผิ
ว เป็
นตอกที่
จั
กเป็
นเส้
นแบนยาวใช้
สานภาชนะที่
ต้
องการความคงทน เช่
น กระบุ
ง ตะกร้
า หรื
อเครื่
อง
ดั
กสั
ตว์
น�้
ำที่
ต้
องแช่
น�้
ำเป็
นเวลานาน ส่
วนตอกไพล ใช้
สานส่
วนที
ใกล้
ขอบปากของภาชนะ เป็
นตอกกลม
เส้
นเล็
กๆ เพื่
อให้
สานโค้
งหรื
อคอดตามรู
ปภาชนะได้
สะดวก และตอกสะพาย เป็
นตอกส�
ำหรั
บฟั่
นเป็
สายสะพายร้
อยจมู
กวั
ว ควาย จึ
งเป็
นตอกเส้
นเล็
กแบนเนื้
ออ่
อน จั
กจากไม้
ไผ่
สี
สุ
กหรื
อไม้
ซางปล้
องยาว
ฟั่
นเป็
นเส้
นขนาดเท่
าหลอดกาแฟ
• “ลายขั
ด” เป็
นลายพื้
นฐาน
ของเครื่
องจั
กสาน เป็
นการ
สร้
างแรงยึ
ดระหว่
างเส้
นตอก
ด้
วยการขั
ดกั
นของตอก
แต่
ละเส้
นตามแนวตั้
และแนวนอน